หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ทดสอบแนวคิดการทำงานระบบของ work cell กระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติ

สาขาวิชาชีพหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RAC-XDQS-011A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ทดสอบแนวคิดการทำงานระบบของ work cell กระบวนการผลิตระบบอัตโนมัติ

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

3119 เจ้าหน้าที่/ช่างเทคนิควิศวกรรมระบบ (ยกเว้นคอมพิวเตอร์)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้กล่าวถึงการตรวจสอบการออกแบบระบบไฟฟ้าของ work cell กระบวนการผลิตระบบ อัตโนมัติ โดยจำลองการทำงานของระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์และ ประเมินผลการท างาน ทดสอบความปลอดภัยของการทำงานระบบ โดยจำลองอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยการ ทำงานของระบบ เช่น Breaker RCD ระบบ PE รวมทั้งตรวจสอบกระแสพิกัดของอุปกรณ์ทางไฟฟ้า โดยจำลองการ ใช้กระแสไฟฟ้าของอุปกรณ์ วัดค่ากระแสไฟฟ้าทั้งระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าควบคุมที่เกิดขึ้นในอุปกรณ์ วิเคราะห์ และประเมินผลความปลอดภัยในการเลือกอุปกรณ์

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักบูรณาการระบบการผลิต (Systems Integrator)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03131

จำลองการทำงานของระบบของ work cell โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 

จำลองการทำงานทางกายภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3131.01 189814
03131

จำลองการทำงานของระบบของ work cell โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 

จำลองการทำงานระบบควบคุมด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

3131.02 189815
03132

ทดสอบแนวคิดการทำงานร่วมกับ Hardware

สามารถทดสอบแนวคิดการทำงานทางกายภาพในจุดสำคัญเห็นได้ เช่นการลำเลียง การหยิบจับ การตรวจสอบ

3132.01 189825
03132

ทดสอบแนวคิดการทำงานร่วมกับ Hardware

สามารถทดสอบแนวคิดกับระบบควบคุม Hardware จริงได้ 

3132.02 189826

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

(ก) ความต้องการด้านทักษะ



1) ทักษะการเขียนจำลองโปรแกรมการทำางานของไฟฟ้า



2) ทักษะการเขียนแบบไฟฟ้า



3) ทักษะการวัดสัญญาณทางไฟฟ้า



(ข) ความต้องการด้านความรู้



1) อุปกรณ์ไฟฟ้า และการทำงาน



2) ค่าความปลอดภัยของอุปกรณ์ไฟฟ้า

(ข) ความต้องการด้านความรู้

N/A


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การ ปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1) แบบฟอร์มบันทึกภาระงาน



2) ใบบันทึกผลการปฏิบัติงาน



3) ใบรับรองผลงานจากผู้ประกอบการ



4) ใบรับรองการผ่านงาน



5) แฟ้มสะสมผลงาน



6) แบบบันทึกผลการสังเกตการปฏิบัติงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1) เอกสารผลการประเมินจากการสอบข้อเขียน



2) เอกสารรับรองผลการเรียนหรือผลการฝึกอบรม



3) เอกสารการจัดท าคู่มือหรือรายงานโครงการ



4) เอกสารการสอนงาน



5) หรือเอกสารรับรองอื่นๆที่ออกจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้



(ค) คำแนะนำในการประเมิน เจ้าหน้าที่ประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากการวางแผนการออกแบบระบบไฟฟ้าในระบบอัตโนมัติ โดย พิจารณาจากทำข้อสอบปฏิบัติ หรือการสังเกตจากการจากจำลองการปฏิบัติงาน



(ง) วิธีการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน



2. การสาธิตการปฏิบัติงาน



3. แฟ้มสะสมผลงาน



4. การสัมภาษณ์



5. การนำเสนอ


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ 



N/A



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1) ค่ากระแสพิกัดในอุปกรณ์ คือค่าความสามารถในการตัดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรของอุปกรณ์ได้อย่างปลอดภัย



2) ค่าพิกัดกระแสในสายไฟ คือค่ากระแสสูงสุดที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลได้ ถ้ามีค่ามากกว่ากระแสพิกัดทำ ให้สายไฟเกิดการเสียหาย


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. ข้อสอบข้อเขียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก



2. การสาธิตการปฏิบัติงาน



3. แฟ้มสะสมผลงาน



4. การสัมภาษณ์



5. การนำเสนอ



ยินดีต้อนรับ