หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ซ่อมระบบเครื่องล่าง

สาขาวิชาชีพบริการยานยนต์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ASV-PCVT-241A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ซ่อมระบบเครื่องล่าง

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างซ่อมระบบเครื่องล่างรถยนต์


1 7231 ช่างเครื่องและช่างซ่อมเครื่องยนต์ยานยนต์

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถปฏิบัติงานถอด/ประกอบ ตรวจสอบ และซ่อมระบบกันสะเทือนได้ตามมาตรฐานคู่มือซ่อม รวมถึงตรวจสอบ เปลี่ยน และทดสอบชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ทอร์ชั่นบาร์/แหนบ ปีกนก และชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
บริการยานยนต์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
-

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
IV50111

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ตรวจสอบชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- upได้ตามคู่มือซ่อม

IV50111.01 192324
IV50111

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

เปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50111.02 192325
IV50111

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ทดสอบชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50111.03 192326
IV50111

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

IV50111.04 192327
IV50112

ตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดหนดคู่มือซ่อม

ตรวจสอบทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามคู่มือซ่อม

IV50112.01 192328
IV50112

ตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดหนดคู่มือซ่อม

เปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบ ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50112.02 192329
IV50112

ตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดหนดคู่มือซ่อม

ทดสอบทอร์ชั่นบาร์/แหนบ ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50112.03 192330
IV50112

ตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดหนดคู่มือซ่อม

ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

IV50112.04 192331
IV50113

ตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ตรวจสอบปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50113.01 192332
IV50113

ตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

เปลี่ยนปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50113.02 192333
IV50113

ตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ทดสอบปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50113.03 192334
IV50113

ตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

IV50113.04 192335
IV50114

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ตรวจสอบชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามคู่มือซ่อม

IV50114.01 192336
IV50114

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

เปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามคู่มือซ่อม

IV50114.02 192337
IV50114

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ทดสอบชุดกันโคลงและลูกหมาก ได้ตามคู่มือซ่อม

IV50114.03 192338
IV50114

ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

IV50114.04 192339

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถเตรียมและใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ ถอด/ประกอบ วัดตรวจสอบ ซ่อม เปลี่ยนชิ้นส่วนอุปกรณ์ระบบกันสะเทือนรถยนต์

2. สามารถการใช้เครื่องมือพิเศษในการถอดประกอบระบบกันสะเทือน

3. สามารถขึ้นแม่แรง หรือลิฟท์ยกรถได้ตามคู่มือซ่อม

4. สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม    

5. สามรถตรวจสอบชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- up ได้ตามคู่มือซ่อม

6. สามารถเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามคู่มือซ่อม

7. สามารถทดสอบชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock-up ได้ตามคู่มือซ่อม

8. สามารถปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

9. สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม    

10. สามรถตรวจสอบทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามคู่มือซ่อม

11. สามารถเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบ ได้ตามคู่มือซ่อม

12 .สามารถทดสอบทอร์ชั่นบาร์/แหนบ ได้ตามคู่มือซ่อม

13. สามารถปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

14. สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม    

15. สามารถตรวจสอบปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

16. สามารถเปลี่ยนปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

17. สามารถทดสอบปีกนก ได้ตามคู่มือซ่อม

18. สามารถปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

19. สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม    

20. สามารถตรวจสอบชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามคู่มือซ่อม

21. สามารถเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามคู่มือซ่อม

22. สามารถทดสอบชุดกันโคลงและลูกหมาก ได้ตามคู่มือซ่อม

23. สามารถปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. มีความรู้ในการใช้ระบบกันสะเทือนรถยนต์

2. มีความรู้ในหลักการ วิธีการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ถอด/ประกอบ 

วัดตรวจสอบ ซ่อม เปลี่ยนชิ้นส่วนอุปกรณ์ระบบกันสะเทือนรถยนต์

3. มีความรู้ในการลำดับขั้นตอนการวิเคราะห์ ถอด/ประกอบ ตรวจสอบ ซ่อม เปลี่ยนระบบกันสะเทือนรถยนต์

4. มีความรู้ในการทดสอบความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. แสดงผลงานการซ่อมระบบเครื่องล่าง

2. แสดงการใช้เครื่องมือในการซ่อมระบบเครื่องล่าง

3. แสดงการตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- up

4. แสดงการตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบ

5. แสดงการตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนก

6.แสดงการตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมาก

7. แสดงหลักฐานเอกสารเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเช่น  ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ  

ใบกำหนด  หน้าที่ ภาพถ่าย วีดิโอการปฏิบัติงาน หรือ  ผลงานจากการปฏิบัติงาน เป้นต้น

   (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. ระบุหรืออธิบายการซ่อมระบบเครื่องล่าง

2. ระบุหรืออธิบายการใช้เครื่องมือในการซ่อมระบบเครื่องล่าง

 3. ระบุหรืออธิบายการตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- up

4. ระบุหรืออธิบายการตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบ

5.ระบุหรืออธิบายการตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนก

6. ระบุหรืออธิบายการตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมาก

7. หลักฐานความรู้ด้านเอกสาร เช่นใบรับรองความรู้จากสถานประกอบการ แฟ้มสะสมผลการปฏิบัติงาน ใบประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตร เป็นต้น

  (ค) คำแนะนำในการประเมิน

หลักฐานที่ต้องการแสดงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และอบโจทย์ตามข้อกำหนดสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยต้องแสดงถึง

1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง

2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

3. ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

โดยเจ้าหน้าที่สอบตรวจประเมินหลักฐาน โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

1. แบบประเมินข้อสอบข้อเขียน

2. แบบประเมินสาธิตการปฏิบัติงาน

3. แบบประเมินสัมภาษณ์

4. แบบประเมินเทียบโอนประสบการณ์

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำรายละเอียด

ขอบเขต (Range Statement) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะในภาพรวม ซึ่งจะเป็น

การระบุสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมของงานที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะนี้ ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน 

มีลักษณะสำคัญใน 4 กลุ่ม กล่าวคือ ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน(workplace procedures) สถานที่ทำงาน (Worksite) สภาวะในการทำงาน (Operating  condition) และข้อมูล/เอกสาร(Information / Document)

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

I) ขั้นตอน ระเบียบ หรือ วิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures)

    การปฏิบัติตนตามระเบียบของสถานประกอบการด้านบริการยานยนต์นี้ ประกอบด้วยความสามารถในการทำงาน ดังต่อไปนี้

- ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดแมคเฟอร์สันสตรัท/Shock- up ได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

- ตรวจสอบและเปลี่ยนทอร์ชั่นบาร์/แหนบได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

- ตรวจสอบและเปลี่ยนปีกนกได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

- ตรวจสอบและเปลี่ยนชุดกันโคลงและลูกหมากได้ตามข้อกำหนดคู่มือซ่อม

II) สถานที่ทำงาน (Worksite)

    -ทำความสะอาด บำรุงรักษา จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงระบบ 5 ส และความปลอดพภัยในการทำงาน

III) สภาวะในการทำงาน (Operating  condition)

     - ข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัย ประกอบด้วย ระวังการใส่น๊อตให้ตรงกับรูเพื่อป้องกันเกลียวครูด เกลียวล้ม และขูดกับตัวถัง การขันน๊อตล๊อกหัวโช๊คด้วยแรงพอดีควรใช้ประแจแรงบิด การทาจาราบีที่หัวโช๊คเล็กน้อยก่อนการประกอบเพื่อลดการเสียดสี  การใช้ประแจวัดแรงบิดขันตึงตอนประกอบ การระวังสายเบรก ขณะถอดเปลี่ยนโช๊ค ควรพยุงชุดเบรกเพื่อป้องกันไม่ให้สายอ่อนฉีกขาด การระวังในการปรับความตึงของ

ทอร์ชั่นบาร์ ระวังการถอดประกอบปีกนก ต้องไม่ตีปีกนก รวมถึงต้องสามารถใช้เครื่องมือเฉพาะในการถอดปีกนกและลูกหมาก

    - เครื่องมือที่ใช้ เช่น ประแจแรงบิด แม่แรง เครื่องมือสำหรับกดบีบสปริง ลวดหรือเชือกผูกรั้งชุดเบรค ฟุตเหล็ก ตลับเมตร เครื่องมือถอดเปลี่ยนลูกหมาก

IV) ข้อมูล/เอกสาร (Information / Document)

    - คู่มือการใช้งาน (คู่มือซ่อม)

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

เจ้าหน้าที่สอบพิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงานที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้า หากไม่ชัดเจนหรือมีปริมาณไม่เพียงพอให้เชื่อถือได้ ให้ประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่

1) ประเมินภาคความรู้ด้วยข้อสอบข้อเขียนแบบตัวเลือก

2) ประเมินภาคความสามารถด้วยแบบทดสอบการสาธิตการปฏิบัติงาน 

3) ประเมินภาคความรู้และประสบการณ์ด้วยแบบการสัมภาษณ์เชิงเทคนิค

4) ประเมินความรู้และความสามารถจากประสบการณ์ด้วยแฟ้มสะสมผลงานของผู้รับการประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ