หน่วยสมรรถนะ
สร้างนวัตกรรมบริการแก่นที่ใช้การได้และสำเร็จได้ (Minimum Viable Service) ในระยะเวลาสั้นและใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด
สมรรถนะสนับสนุนในการทำงานผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | DS500 |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | สร้างนวัตกรรมบริการแก่นที่ใช้การได้และสำเร็จได้ (Minimum Viable Service) ในระยะเวลาสั้นและใช้ทรัพยากรน้อยที่สุด |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology) |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความสามารถในการออกแบบความคิดสำหรับการพัฒนาบริการดิจิทัล ออกแบบกระบวนงานสำหรับการให้บริการ (Process Design) ออกแบบสารสนเทศสำหรับการให้บริการ (Information Design) ออกแบบองค์กรสำหรับการให้บริการ และ พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัล ด้วยเทคนิคพล วัตรปรับต่อเนื่อง |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการพ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
DS501 ออกแบบกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัล (Process Design) |
1.1 ทบทวนรายละเอียดกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัลแบบเชื่อมโยง |
DS501.01 | 191561 |
DS501 ออกแบบกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัล (Process Design) |
1.2 ออกแบบกระบวนการทำงานใหม่โดยมุ่งเน้นการเชื่อมโยงกระบวนการที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร |
DS501.02 | 191562 |
DS501 ออกแบบกระบวนการทำงานของบริการดิจิทัล (Process Design) |
1.3 จัดทำเอกสารกระบวนงานเพื่อการอ้างอิงสำหรับการพัฒนา |
DS501.03 | 191563 |
DS502 ออกแบบสารสนเทศสำหรับการให้บริการ
(Information Design) |
2.1 อธิบายได้ถึง Information Flow เพื่อทำให้การพัฒนาบริการดิจิทัลมีประสิทธิภาพและคุณภาพการให้บริการที่มีคุณภาพสูง |
DS502.01 | 191564 |
DS502 ออกแบบสารสนเทศสำหรับการให้บริการ
(Information Design) |
2.2 ระบุแหล่งข้อมูลที่ต้องการนำมาใช้ซ้ำหรือใช้ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน |
DS502.02 | 191565 |
DS502 ออกแบบสารสนเทศสำหรับการให้บริการ
(Information Design) |
2.3 จัดทำเอกสารอธิบายข้อมูล และการไหลของข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิงร่วมกันในการพัฒนา |
DS502.03 | 191566 |
DS503 ออกแบบองค์กรสำหรับการให้บริการ |
3.1 ระบุทีมงานและทักษะที่ต้องการสำหรับพัฒนานวัตกรรมบริการตลอดกระบวนงานทั้ง Frontstage และ Backstage |
DS503.01 | 191567 |
DS503 ออกแบบองค์กรสำหรับการให้บริการ |
3.2 มอบอำนาจการตัดสินใจสำหรับบุคคลและทีมในการตัดสินใจเองได้ |
DS503.02 | 191568 |
DS504 พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง |
4.1 เลือกใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนานวัตกรรมสำหรับยกระดับการให้บริการอย่างมีประสิทธิผล |
DS504.01 | 191569 |
DS504 พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง |
4.2 พัฒนานวัตกรรมบริการที่สำเร็จได้ในระยะเวลาสั้นเพื่อให้ทันต่อการใช้งานและพิสูจน์สมมติฐานก่อนขยายการพัฒนา |
DS504.02 | 191570 |
DS504 พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง |
4.3 กำหนดสถานการณ์ทดสอบเสมือนจริง |
DS504.03 | 191571 |
DS504 พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง |
4.4 วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่ได้จากการทดสอบและจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับแต่ง
|
DS504.04 | 191572 |
DS504 พัฒนานวัตกรรมบริการดิจิทัลด้วยเทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง |
4.5 ติดตาม ประเมิน และปรับแต่งนวัตกรรมบริการ |
DS504.05 | 191573 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
(ข) หลักฐานความรู้(Knowledge Evidence)
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เป็นสมรรถนะของข้าราชการที่ทำหน้าที่ให้บริการประชาชน หรือ ให้บริการหน่วยงาน ภายนอกหรือภายใน การสร้างนวัตกรรมบริการ หมายถึงการสร้างต้นแบบที่ได้จากการออกแบบร่วมกับกลุ่ม นักวิชาการคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคนิคพลวัตรปรับต่อเนื่อง (Agile Development) ที่สามารถทำซ้ำ โดยเน้นการ วิเคราะห์หาส่วนที่สำคัญแล้วลงมือทำก่อนด้วยเวลาระยะสั้น เพื่อให้เห็นแนวคิดของการให้บริการ แล้วทำการ ประเมินผล จากนั้นจึงทำการปรับแก้แล้วจึงทำในส่วนสำคัญถัดไป (ก) คำแนะนำ
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|