หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารความเสี่ยงดิจิทัล (Digital Risk Management)

สมรรถนะสนับสนุนในการทำงานผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูงภาครัฐ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ DG500

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารความเสี่ยงดิจิทัล (Digital Risk Management)

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้อำนวยการกอง (Management) และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล (Technology)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้อำนวยการกอง (Management) และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้าน เทคโนโลยีดิจิทัล (Technology)

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
DG501

ประเมินความเสี่ยงดิจิทัลในกระบวนการทำงาน (Digital Risk Assessment in Business Process) 

1.1 รวบรวมข้อมูลความเสี่ยงจากระบบดิจิทัลภายในองค์กร

DG501.01 191611
DG501

ประเมินความเสี่ยงดิจิทัลในกระบวนการทำงาน (Digital Risk Assessment in Business Process) 

1.2 รวบรวมข้อมูลความเสี่ยงจากระบบดิจิทัลภายนอกองค์กร

DG501.02 191612
DG501

ประเมินความเสี่ยงดิจิทัลในกระบวนการทำงาน (Digital Risk Assessment in Business Process) 

1.3 วิเคราะห์ความเสี่ยงดิจิทัล (Digital Risk Analysis) ที่มีต่อองค์กร 

DG501.03 191613
DG502

จัดการความเสี่ยงดิจิทัล 

2.1 จัดลำดับความสำคัญ (Prioritize) ของความเสี่ยงดิจิทัล

DG502.01 191614
DG502

จัดการความเสี่ยงดิจิทัล 

2.2 จัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยงดิจิทัลขององค์กร

DG502.02 191615
DG502

จัดการความเสี่ยงดิจิทัล 

2.3 ดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยง

DG502.03 191616
DG502

จัดการความเสี่ยงดิจิทัล 

2.4 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนบริหารจัดการความเสี่ยง 

DG502.04 191617

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

  • ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

  • ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบราชการ หน้าที่ความรับผิดชอบ และการบริหารจัดการภาครัฐ

  • ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารทางราชการ กฎหมายว่าด้วยการละเมิด

  • ความรู้เกี่ยวกับทิศทางและยุทธศาสตร์ของประเทศ 

  • ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  • มองเห็นภาพรวมและความเชื่อมโยงระหว่างการทำงานของตนเองและคนอื่น (Holistic View and Task Linkage)

  • ชอบแก้ปัญหาที่มีความท้าทาย (Problem Solving)

  • มีความพยายาม ไม่ย่อท้อ (Persistent)

  • ยอมรับปรับตัว (Adaptive)

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  • ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและมาตรฐานด้านดิจิทัลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานภาครัฐ 

  • ความรู้เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cyber Security) 

  • ความรู้ด้านการจัดการความเสี่ยงดิจิทัล (Digital Risk Management)


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  • อ้างอิงได้ถึงการอธิบายแนวคิด หลักการ วิธีการและขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงดิจิทัล รวมทั้งการ ตอบข้อซักถามในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการพัฒนาและปรับปรุง ขั้นตอนการทำงานดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพ

  • ประวัติการดำรงตำแหน่ง หรือ ประวัติการทำงาน



(ข) หลักฐานความรู้(Knowledge Evidence)




  • การแลกเปลี่ยนความรู้ในการบริหารความเสี่ยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  • เป็นตัวแทนของหน่วยงานในการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารความเสี่ยงดิจิทัล ให้กับบุคคลภายนอก − ประกาศนียบัตรต่างๆ จากการฝึกอบรมพัฒนาหรือการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง



(ค) คำแนะนำในการประเมิน




  • ตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและ หลักฐานด้านความร


15. ขอบเขต (Range Statement)

หน่วยสมรรถนะนี้จะเป็นความสามารถในการประเมินความเสี่ยงดิจิทัลในกระบวนการทำงานในภาพรวม ขององค์กร และภายใต้ขอบเขตหน้าที่ที่รับผิดชอบดูแล ซึ่งควรประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี้ข้อสรุปประเด็น ความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงและประเมินผลกระทบ การกำหนดแนวทางการแก้ไข ตลอดจนการจัดทำ รายงาน



(ก) คำแนะนำ




  • ควรมีการปรับเปลี่ยนนโยบายและการดำเนินงานของหน่วยงานให้รองรับกับความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดขึ้นได้

  • ควรมีการกระตุ้นให้บุคคลากรในองค์กรตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้จากการทำงานแบบ ดิจิทัล



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

  • สอบข้อเขียน 

  • พิจารณาได้จากเครื่องมือประเมินสมรรถนะบุคคล (Assessment Tool)



ยินดีต้อนรับ