หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ศึกษาความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-OLUW-739A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ศึกษาความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 7543 ผู้คัดคุณภาพและทดสอบผลิตภัณฑ์ ยกเว้นอาหารและเครื่องดื่ม

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
กำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพและวิเคราะห์ความคงสภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรทางจุลชีววิทยา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านการตรวจคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรทางจุลชีววิทยา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ข้อกำหนด หลักเกณฑ์การปฏิบัติที่ดี หรือประกาศกระทรวงตามประเภทผลิตภัณฑ์

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10310-01

กำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยา 

1.จัดทำแผนศึกษาความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

10310-01.01 188416
10310-01

กำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยา 

2.จัดเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไว้ในสภาวะที่มาตรฐานกำหนด

10310-01.02 188417
10310-01

กำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยา 

3.ส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางจุลชีววิทยา

10310-01.03 188418
10310-02

วิเคราะห์ความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ 

1.รวบรวมผลการตรวจความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

10310-02.01 188423
10310-02

วิเคราะห์ความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ 

2.สรุปผลการตรวจความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

10310-02.02 188424
10310-02

วิเคราะห์ความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ 

3.รายงานผลการวิเคราะห์ความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์

10310-02.03 188425

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงาน

2. ทักษะการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

มีทักษะในการกำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพของผลิตภัณฑ์ทางจุลชีววิทยา

(ข) ความต้องการด้านความรู้

มีความรู้ด้านการวิเคราะห์ความคงสภาพทางจุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ  หรือ เอกสารรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ สาขาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร อาชีพผู้ตรวจคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรทางจุลชีววิทยา ระดับ 3


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. กำหนดแผนการศึกษาความคงสภาพทางเคมีของผลิตภัณฑ์ ระบุระยะเวลาในการศึกษา สภาวะการจัดเก็บ เป็นต้น

2. จัดเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไว้ในสภาวะที่มาตรฐานกำหนด สามารถเก็บในสภาวะ อุณหภูมิในการจัดเก็บตามที่กำหนดไว้ในทะเบียนตำรับยา (ฉลากยา) เช่น เก็บอุณหภูมิไม่เกิน 25 oC ให้เก็บในสภาวะควบคุมอุณหภูมิ 25±2 oC ความชื้นสัมพัทธ์ ร้อยละ 60±5 หรือให้เก็บที่สภาวะห้องปรับอากาศ เก็บอุณหภูมิไม่เกิน 30 oC ให้เก็บในสภาวะควบคุมอุณหภูมิ 30±2 oC ความชื้นสัมพัทธ์ ร้อยละ 75±5 หรืออุณหภูมิห้อง เป็นต้น

3. ส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์เพื่อตรวจวิเคราะห์คุณภาพทางจุลชีววิทยา โดยส่งให้ห้องปฏิบัติการของหน่วยงาน หรือส่งให้หน่วยงานภายนอกตรวจ

4. สรุปผลการตรวจและรายงานผลการวิเคราะห์ โดยระบุวิธีการตรวจคุณภาพ สภาวะการจัดเก็บ ระยะเวลาในการศึกษา และความคงสภาพทางจุลชีววิทยา

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การสอบข้อเขียน 



ยินดีต้อนรับ