หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการระบบการจัดการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-DBDT-729A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการระบบการจัดการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 1321 ผู้จัดการด้านการผลิต

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
จัดการด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน ด้านสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานในการผลิตยาจากสมุนไพรให้มีประสิทธิภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ข้อกำหนด หลักเกณฑ์การปฏิบัติที่ดี หรือประกาศกระทรวงตามประเภทผลิตภัณฑ์ เช่น ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง “หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562” พ.ศ.2564

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10213-01

จัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

1.ประเมินความเสี่ยงของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

10213-01.01 188340
10213-01

จัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2.ชี้แจงหลักการจัดการด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ

10213-01.02 188341
10213-01

จัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3.ติดตามผลการปฏิบัติงานตามนโยบายความปลอดภัย

10213-01.03 188342
10213-02

จัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

1.อนุมัติเอกสารการปฏิบัติงาน 

10213-02.01 188343
10213-02

จัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2.ตรวจติดตามการดำเนินงาน

10213-02.02 188344
10213-02

จัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3.ประเมินผลการดำเนินงาน

10213-02.03 188345
10213-02

จัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

4.ปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อความคุ้มทุน

10213-02.04 188346
10213-03

จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

1.ประเมินสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน

10213-03.01 188347
10213-03

จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2.ชี้แจงหลักการจัดการสภาพแวดล้อม ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ

10213-03.02 188348
10213-03

จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3.ติดตามผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

10213-03.03 188349

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ทักษะการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์เกี่ยวกับการผลิต

2. ทักษะการใช้เครื่องมือทดสอบคุณภาพ

 


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถจัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2. สามารถจัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3. สามารถจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. มีความรู้ด้านการจัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2. มีความรู้ด้านการจัดการด้านกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3. มีความรู้ด้านการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ  เอกสารรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ สาขาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ระดับ 4 หรือ เอกสารรับรองผลการศึกษา (ถ้ามี) 

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. ประเมินความเสี่ยงของปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เช่น ส่วนงานที่มีฝุ่นมาก ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันให้มิดชิด หรือภายในห้องติดตั้งระบบกำจัดฝุ่นที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น

2. ชี้แจงหลักการจัดการด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ โดยการประชุม การอบรมหรือการติดประกาศชี้แจง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ และมีกฎระเบียบข้อบังคับให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อให้มีความปลอดภัยจากการปฏิบัติงาน เป็นต้น

3. ติดตามผลการปฏิบัติงานตามนโยบายความปลอดภัย โดยติดตามว่าผู้ใต้บังคับบัญชาได้ปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัยในการปฏิบัติงานหรือไม่ หรือปฏิบัติถูกวิธีหรือไม่ เป็นต้น

4. ตรวจติดตามการดำเนินงาน โดยกำกับให้ดำเนินงานให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นต้น

5. ประเมินผลการดำเนินงาน โดยพิจารณาจากเป้าหมายที่กำหนดและผลการดำเนินงานที่ปฏิบัติได้ เป็นต้น

6. ปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อความคุ้มทุน เช่น กรณีที่มีความสูญเสียที่เกิดจากงานเสียจากการผลิต ทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มในการผลิตภัณฑ์ซ้ำหรือแก้ไข จะต้องวิเคราะห์หาสาเหตุและแก้ไขปัญหาร่วมกับฝ่ายควบคุมคุณภาพ เช่น พนักงานขาดทักษะ มีความประมาท วิธีการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม วัตถุดิบN/Aคุณภาพ เครื่องจักรประสิทธิภาพต่ำ หรือเร่งรีบจนเกินไป เป็นต้น

7. ประเมินสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ได้แก่ มีแสงสว่างเพียงพอ มีระบบถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม ระบบการกำจัดฝุ่นที่มีประสิทธิภาพ ความสะอาดของสถานที่ผลิตยา เป็นต้น

8. ชี้แจงหลักการจัดการสภาพแวดล้อม ให้ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ โดยการประชุม การอบรมหรือการติดประกาศชี้แจง ให้ผู้ใต้บังคับบัญชารับทราบ และมีกฎระเบียบข้อบังคับให้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสอบข้อเขียน 

18.2 การสอบสัมภาษณ์

 



ยินดีต้อนรับ