หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการบุคลากรด้านการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-ETIL-726A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการบุคลากรด้านการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 3122 หัวหน้าคุมงานด้านการผลิต

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและจัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมและทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ข้อกำหนด หลักเกณฑ์การปฏิบัติที่ดี หรือประกาศกระทรวงตามประเภทผลิตภัณฑ์ เช่น ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง “หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562” พ.ศ.2564

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10210-01

ประเมินผลการปฏิบัติงาน

1.รวบรวมผลงานของผู้ปฏิบัติงาน

10210-01.01 188316
10210-01

ประเมินผลการปฏิบัติงาน

2.วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมาย

10210-01.02 188317
10210-01

ประเมินผลการปฏิบัติงาน

3.ให้คำแนะนำเพื่อพัฒนาการทำงาน

10210-01.03 188318
10210-01

ประเมินผลการปฏิบัติงาน

4.พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล 

10210-01.04 188319
10210-02

จัดกำลังคนสำหรับปฏิบัติงาน

1.กำหนดกรอบภาระงาน

10210-02.01 188320
10210-02

จัดกำลังคนสำหรับปฏิบัติงาน

2.จัดสรรกำลังคนตามภาระงาน

10210-02.02 188321
10210-02

จัดกำลังคนสำหรับปฏิบัติงาน

3.เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาในงานที่ได้มอบหมาย

10210-02.03 188322

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ทักษะการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์เกี่ยวกับการผลิต

2. ทักษะการใช้เครื่องมือทดสอบคุณภาพ

 


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. วิเคราะห์ผลและให้ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรได้

2. สามารถพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลได้

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้ด้านการจัดบุคลากร

2. มีความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิบัติงานผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาหากเกิดปัญหาได้


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ เอกสารรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ สาขาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ระดับ 4  เอกสารรับรองผลการศึกษา (ถ้ามี) 

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. รวบรวมผลงานของผู้ปฏิบัติงาน โดยรวบรวมจากฝ่ายต่างๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผลการปฏิบัติงานที่ปฏิบัติได้ เป้าหมายที่กำหนดหรือแผนที่กำหนด เป็นต้น

2. วิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมาย โดยเปรียบเทียบเป้าหมายของงานที่กำหนดไว้และผลการปฏิบัติงานที่ทำได้จริง หากงานที่ปฏิบัติไม่ตรงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ให้วิเคราะห์หาสาเหตุและวิธีแก้ไขปัญหา 

เป็นต้น

3. ให้คำแนะนำเพื่อพัฒนาการทำงาน

4. กำหนดกรอบภาระงานของพนักงานแต่ละคน โดยคำนึงถึงตามความสามารถ ประสบการณ์ทำงาน เป็นต้น

5. จัดสรรกำลังคนตามภาระงาน โดยคำนึงถึงความเร่งด่วนของงาน จำนวนภาระงานและจำนวนพนักงาน เป็นต้น

6. เสนอแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับกำลังคน เช่น การโยกย้ายบุคลากรไปช่วยงานในส่วนงานอื่นๆในช่วงที่มีงานเร่งด่วน เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสอบข้อเขียน 

18.2 การสอบสัมภาษณ์

 



ยินดีต้อนรับ