หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ควบคุมคุณภาพระหว่างกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-IBQG-724A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมคุณภาพระหว่างกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 3122 หัวหน้าคุมงานด้านการผลิต

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ควบคุมการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อนำมาตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพ และสามารถใช้เครื่องมือในการทำสอบคุณลักษณะทางกายภาพตามคู่มือการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ปฏิบัติงานด้านการผลิตยาจากสมุนไพร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ข้อกำหนด หลักเกณฑ์การปฏิบัติที่ดี หรือประกาศกระทรวงตามประเภทผลิตภัณฑ์ เช่น ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง “หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. 2562” พ.ศ.2564

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10208-01

กำกับการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

1.ทวนสอบการสุ่มตัวอย่าง 

10208-01.01 188303
10208-01

กำกับการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2.ตรวจบันทึกการสุ่มตัวอย่าง 

10208-01.02 188304
10208-01

กำกับการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3.รายงานปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต

10208-01.03 188305
10208-02

กำกับการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

1.ทวนสอบการเตรียมเครื่องมือทดสอบ

10208-02.01 188306
10208-02

กำกับการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2.ติดตามการทดสอบลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร 

10208-02.02 188307
10208-02

กำกับการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

3.ตรวจบันทึกผลการทดสอบ

10208-02.03 188308

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ทักษะการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์เกี่ยวกับการผลิต

2. ทักษะการใช้เครื่องมือทดสอบคุณภาพ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการกำกับการเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2. ทักษะการกำกับการตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. มีความรู้การเก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

2. มีความรู้การทดสอบลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ  หรือ เอกสารรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ สาขาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรอาชีพผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ระดับ 3 


15. ขอบเขต (Range Statement)

1. การทวนสอบความถูกต้องของการสุ่มตัวอย่าง โดยดูจากการตรวจบันทึกการสุ่มตัวอย่าง

2. การตรวจบันทึกการสุ่มตัวอย่าง เช่น วิธีการสุ่ม จำนวนที่สุ่มตัวอย่าง เป็นต้น

3. การรายงานปัญหาที่เกิดขึ้น ได้แก่ ที่มาของปัญหา รายละเอียดของปัญหา และแนวทางแก้ไข เป็นต้น

4. การทวนสอบการเตรียมเครื่องมือทดสอบทางกายภาพ เช่น ก่อนการใช้เครื่องชั่งให้เปิดเครื่องชั่งก่อนการใช้งาน 15 นาที พนักงานใช้เครื่องมือถูกต้องหรือไม่ วิธีการทดสอบถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสอบข้อเขียน 

18.2 การสอบปฏิบัติ โดยการสาธิตการปฏิบัติงานหรือการสังเกตการปฏิบัติงาน

 



ยินดีต้อนรับ