หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ซ่อมท่อรั่วกรณีเร่งด่วน

สาขาวิชาชีพธุรกิจสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PUM-NIHG-365A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ซ่อมท่อรั่วกรณีเร่งด่วน

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

7126 ช่างประปาและวางท่อ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถซ่อมท่อรั่วกรณีเร่งด่วน ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างประปาภายในอาคาร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04316.01

ตรวจหาท่อรั่วด้วยเครื่องมือ ตามข้อกำหนด

1. เลือกใช้เครื่องมือในการตรวจหาทั่วรั่วได้อย่าถูกต้อง

04316.01.01 189792
04316.01

ตรวจหาท่อรั่วด้วยเครื่องมือ ตามข้อกำหนด

2. ระบุลักษณะและความรุนแรงของท่อรั่วได้อย่างถูกต้อง

04316.01.02 189793
04316.01

ตรวจหาท่อรั่วด้วยเครื่องมือ ตามข้อกำหนด

3. เลือกเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ในการซ่อมได้อย่างถูกต้อง

04316.01.03 189794
04316.02

เตรียมพื้นที่สำหรับการซ่อมท่อรั่ว

1.อ่านแบบระบบประปาภายในและปิดการจ่ายน้ำได้อย่างถูกต้อง

04316.02.01 189795
04316.02

เตรียมพื้นที่สำหรับการซ่อมท่อรั่ว

2.ใช้เครื่องมือในการเจาะพื้นผิวเพื่อเตรียมพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง

04316.02.02 189796
04316.02

เตรียมพื้นที่สำหรับการซ่อมท่อรั่ว

3.ใช้เครื่องมือการเตรียมพื้นที่ได้ตามมาตรฐานความปลอดภัย

04316.02.03 189797
04316.03

เปลี่ยนท่อบริเวณที่รั่ว

1.เลือกวิธีซ่อมท่อได้อย่างถูกต้อง

04316.03.01 189798
04316.03

เปลี่ยนท่อบริเวณที่รั่ว

2.ตัดต่อท่อบริเวณที่ชำรุดได้อย่างถูกต้องตามวิธีที่เลือก

04316.03.02 189799
04316.03

เปลี่ยนท่อบริเวณที่รั่ว

3.ใช้เครื่องมือได้ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นตามข้อกำหนดมาตรฐานความปลอดภัย

04316.03.03 189800
04316.03

เปลี่ยนท่อบริเวณที่รั่ว

4.ทดลองจ่ายน้ำเพื่อตรวจการซ่อมได้อย่างถูกต้อง

04316.03.04 189801
04316.04

จัดเก็บพื้นที่หลังการซ่อม

1.ปิดพื้นผิวบริเวณซ่อมได้อย่างถูกต้อง

04316.04.01 189805
04316.04

จัดเก็บพื้นที่หลังการซ่อม

2.เลือกใช้อุปกรณ์ทำความสะอาดพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง

04316.04.02 189806
04316.04

จัดเก็บพื้นที่หลังการซ่อม

3.ทำเขตกั้นบริเวณพื้นที่ที่ยังไม่พร้อมในการใช้งาน ได้อย่างถูกต้อง

04316.04.03 189807

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ




    1. ทักษะทางด้านการอ่านแบบและถอดแบบ

    2. ทักษะการสำรวจและตรวจหาตำแหน่งรั่วในระบบท่อ

    3. ทักษะในการทดสอบแรงดันน้ำ

    4. ทักษะในการแก้ไขท่อระบายอากาศ ความปลอดภัยในการทำงาน



(ข) ความต้องการด้านความรู้




    1. ความรู้ชนิดท่อ ขนาดท่อ

    2. ความรู้ด้านการวัสดุเบื้องต้น

    3. ความรู้ทางด้านการระบุรายการจากการถอดแบบ

    4. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำงานติดตั้งท่อประปา สุขาภิบาล




14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)




  •      หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ
















              1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

              2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต
















  •      หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) อาทิ
















              1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

              2. ใบรับรองการผ่านการประเมิน

              3. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา   
















  •      คำแนะนำในการประเมิน
















              1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการซ่อมท่อรั่วกรณีเร่งด่วน โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้
















  •      วิธีการประเมิน
















              1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

              2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้














15. ขอบเขต (Range Statement)

 




  • คำแนะนำ



ตรวจหาท่อรั่วได้รวดเร็วถูกต้อง ตำแหน่งรั่วที่แน่นอน เลือกเครื่องมือที่ถูกต้องในการแก้ไขซ่อมแซม และสามารถซ่อมแซมได้อย่างปลอดภัยต่อตนเองและผู้อื่น






    1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญกับข้อกำหนดด้านความปลอดภัย และมาตรฐานงานประปา

    2. เจ้าหน้าที่สอบควรมีความพร้อมในการทดสอบ และจะต้องค่อยระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้



  • คำอธิบายรายละเอียด

    1. ตรวจหาท่อรั่วได้รวดเร็วถูกต้อง ตำแหน่งรั่วที่แน่นอน

    2. เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจหาท่อรั่ว เช่น Acoustic Rod, Sounding Rod, Listening Stick, Boring Bar เป็นต้น

    3. เครื่องมือที่ใช้ในซ่อมท่อรั่วแบบเร่งด่วนประกอบด้วย

      1. อุปกรณ์เครื่องมือในการตัดท่อ อาทิ เลื่อยตัดท่อ กรรไกรตัดท่อ เครื่องตัดท่อ เป็นต้น

      2. อุปกรณ์ทำความสะอาด อาทิ ผ้าทำความสะอาด ฟองน้ำ ถังน้ำ เป็นต้น

      3. วัสดุที่ใช้ในการต่อ อาทิ ท่อที่มีขนาดใหญ่กว่าหรือข้อต่อท่อ เป็นต้น

      4. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปิดพื้นผิว อาทิ ดอกสกัด สว่านกระแทก เครื่องตัดปูน ค้อน เป็นต้น

      5. อุปกรณ์ที่ใช้ในการปิดพื้นผิว อาทิ เกียงฉาบ เกียงปาด ถาดฉาบปูน ถังผสมปูน เป็นต้น



    4. การซ่อมท่อรั่วมีหลายวิธี อาทิ ซ่อมท่อแตกรั่วด้วยวิธี Wrap Tape ซ่อมท่อแตกรั่วด้วยวิธี Wrap Seal ซ่อมท่อแตกรั่วด้วยวิธี Wrap Clamp ซ่อมท่อแตกรั่วด้วยวิธี Wrap Coupling ซ่อมท่อแตกรั่วด้วยวิธี Wrap Gibault Joint เป็นต้น

    5. Personal Protective Equipment: PPE เป็นอุปกรณ์เพื่อในการทำงานใช้สวมใส่ร่างกาย หรือ ติดตั้งเพื่อวัตถุประสงค์ให้เกิดความปลอดภัย ทั้งในบ้าน ที่ทำงาน ที่สาธารณะ อาคาร และพื้นที่ที่ต้องการความปลอดภัย

    6. เตรียมความพร้อมของเครื่องมือให้พร้อมใช้งานครั้งถัดไป ได้แก่ ทำความสะอาดเครื่องหลังใช้งาน จัดเก็บเครื่องมือหลังใช้งาน เช่น นำเครื่องมือบรรจุใส่ซอง ห่อ กล่องหลังใช้งาน ทาน้ำมันเคลือบเครื่องมือหลังใช้งาน ล็อก Safety เครื่องมือหลังใช้งาน ล้างทำความสะอาดหรือทาสารเคลือบเครื่องมือตามคำแนะนำคู่มือ เก็บเครื่องมือในพื้นที่ที่เหมาะตามคำแนะนำคู่มือ เป็นต้น

    7. ปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐานติดตั้งตามหน่วยงาน เช่น มาตรฐานงานวางท่อของการประปานครหลวง หรือมาตรฐานงานวางท่อของการประปาส่วนภูมิภาค หรือมาตรฐานการติดตั้งท่อประปาของกรมโยธาธิการและผังเมือง หรือมาตรฐานผู้ผลิต เป็นต้น

    8. ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยตามคู่มือการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของกองตรวจความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หรือสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) หรือสถานประกอบการกำหนด เป็นต้น




16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

 




  • เครื่องมือประเมิน ตรวจหาท่อรั่วด้วยเครื่องมือ ตามข้อกำหนด


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมิน เตรียมพื้นที่สำหรับการซ่อมท่อรั่ว


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมิน เปลี่ยนท่อบริเวณที่รั่ว


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมิน จัดเก็บพื้นที่หลังการซ่อม


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ