หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

แก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ

สาขาวิชาชีพธุรกิจสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PUM-ZRZQ-325A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ แก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

3122  หัวหน้าคุมงานด้านการผลิต



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ ได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่กำหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพน้ำ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
02310.01

หาสาเหตุของปัญหาในการควบคุมคุณภาพน้ำ

1. รวบรวมข้อมูลปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง

02310.01.01 189295
02310.01

หาสาเหตุของปัญหาในการควบคุมคุณภาพน้ำ

2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำได้อย่างถูกต้อง

02310.01.02 189296
02310.01

หาสาเหตุของปัญหาในการควบคุมคุณภาพน้ำ

3. ระบุสาเหตุของปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำจากการวิเคราะห์ตามวิธีที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง

02310.01.03 189297
02310.02

กำหนดวิธีในการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ

1. ระบุแนวทาง วิธีการในการแก้ปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำได้อย่างถูกต้อง

02310.02.01 189298
02310.02

กำหนดวิธีในการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ

2. แนะนำแนวทางที่ถูกต้องในการแก้ไขปัญหา ให้กับผู้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง 

02310.02.02 189299
02310.02

กำหนดวิธีในการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ

3. เขียนรายงานผลการแก้ไขปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำได้อย่างละเอียดถูกต้อง

02310.02.03 189300

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการควบคุมงานควบคุมคุณภาพน้ำประปา



2.  ทักษะการตรวจสอบงานควบคุมคุณภาพน้ำประปา



3.  ทักษะการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาขั้นสูง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.  ความรู้เกี่ยวกับระบบการควบคุมคุณภาพน้ำประปา



2.  ความรู้เกี่ยวกับการวางแผน ควบคุม ติดตามงานควบคุมคุณภาพน้ำประปา



3.  ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาขั้นสูง



4.  ความรู้เกี่ยวกับการรายงานผลการปฏิบัติงาน



5.  ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในงานควบคุมคุณภาพน้ำประปา


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

  • หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ

    1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

    2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต



  • หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) อาทิ

    1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

    2. ใบรับรองการผ่านการประเมิน

    3. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา



  • คำแนะนำในการประเมิน

    1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้



  • วิธีการประเมิน

    1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน





พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

  • คำแนะนำ



หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ โดยในการทดสอบต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้






    1. ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวข้องกับข้อกำหนดความปลอดภัย และมาตรฐานน้ำประปา

    2. ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงความรู้ และความสามารถเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานในการวางแผน การควบคุมเวลา และการติดตามการควบคุมคุณภาพน้ำประปาให้ได้ตามที่กำหนด ตามมาตรฐาน ตรวจสอบคุณภาพการผลิตประปา วิเคราะห์ วินิจฉัยแก้ไขปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำประปาได้



  • คำอธิบายรายละเอียด

    1. การควบคุมคุณภาพน้ำประปา ในกระบวนการผลิตน้ำประปาทุกขั้นตอนจะต้องมีการควบคุมคุณภาพน้ำ และเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่จะต้องวิเคราะห์ตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพน้ำ หรือนักวิทยาศาสตร์ ทั้งในเรื่องความขุ่น สิ่งเจือปนที่อาจตกค้างอยู่ในแต่ละขั้นของการผลิต สภาพความเป็นกรด เบส ของน้ำ ตลอดจนปริมาณคลอรีนคงเหลือ เพื่อให้แน่ใจได้ว่าน้ำประปาที่ส่งให้ประชาชนสะอาด ปลอดภัย สำหรับการอุปโภคบริโภคและการตรวจสอบนี้จะดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ โดยมีการเก็บตัวอย่างน้ำจากจุดต่าง ๆ ในกระบวนการผลิต เพื่อนำมาตรวจในห้องปฏิบัติการ ผลการตรวจจะนำไปปรับปรุงแก้ไขระบบการผลิตแต่ละจุด เช่น มีการเพิ่มหรือลดสารเคมีในจุดที่พบข้อบกพร่อง เป็นต้น

    2. การหาสาเหตุของปัญหาในการควบคุมคุณภาพน้ำ หมายถึง การรวบรวมข้อมูลปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำ

    3. มาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำ เพื่อระบุสาเหตุของปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางการแก้ไข

    4. กำหนดวิธีในการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ หมายถึง การกำหนดระบุแนวทาง วิธีการในการแก้ปัญหาในงานควบคุมคุณภาพน้ำ และแนะนำแนวทางที่ถูกต้องในการแก้ไขปัญหา ให้กับผู้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม

    5. ติดตามความคืบหน้า และตรวจสอบการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในงานควบคุมคุณภาพน้ำ รวมทั้งจัดทำรายงานผลการแก้ไขปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ เพื่อที่จะได้นำผลการแก้ไขปัญหามาใช้ในการปรังปรุงและแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ และงานผลิตน้ำประปาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    6. คู่มือการปฏิบัติงาน หมายถึง คู่มือที่ใช้ประกอบในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการนั้นๆ โดยการปฏิบัติงานในที่นี้หมายถึงการปฏิบัติงานแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำซึ่งคู่มือการปฏิบัติงาน ได้แก่ คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา การประปาส่วนภูมิภาค ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558 หรือคู่มือการควบคุมการผลิตน้ำประปาผิวดิน สำนักบริหารจัดการน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ หรือการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ หรือการตรวจวัดคุณภาพน้ำในระบบผลิตและระบบจำหน่าย หรือการประปาส่วนภูมิภาคคู่มือการควบคุมการผลิตน้ำประปาผิวดิน สำนักบริหารจัดการน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ เป็นต้น

    7. ปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐานตามหน่วยงาน เช่น มาตรฐาน ISO 9001:2000 ด้านการผลิตน้ำประปาจาก สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค มอก. 257-2549 มาตรฐานคุณภาพน้ำประปาของการประปานครหลวงและการประปาส่วนภูมิภาคตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก WHO หรือมาตรฐานผู้ผลิต เป็นต้น

    8. ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยตามคู่มือการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของกองตรวจความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หรือสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) หรือสถานประกอบการกำหนด เป็นต้น




16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

  • เครื่องมือประเมินการหาสาเหตุของปัญหาในการควบคุมคุณภาพน้ำ

    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. แบบฟอร์มประเมินผลแฟ้มสะสมผลงานเกี่ยวกับการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมินการกำหนดวิธีในการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. แบบฟอร์มประเมินผลแฟ้มสะสมผลงานเกี่ยวกับการแก้ปัญหางานควบคุมคุณภาพน้ำ





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ