หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา

สาขาวิชาชีพธุรกิจสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PUM-NSIA-320A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

2113 นักเคมี



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถตรวจสอบ และวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปาครอบคลุมทั้งระบบ ตั้งแต่โรงงานผลิตน้ำประปาไปจนถึงบ้านผู้ใช้น้ำ หรือสถานที่ใช้น้ำประปา เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำ ได้อย่างถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพน้ำ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
02305.01

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ 

1. วัดค่าความความเป็นกรด–ด่าง (PH) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.01.01 189227
02305.01

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ 

2. วัดค่าความขุ่น (Turbidity) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.01.02 189228
02305.01

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ 

3. วัดค่าสี (Color) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.01.03 189229
02305.01

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ 

4. วัดค่าการนำไฟฟ้า (Conductivity) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.01.04 189230
02305.01

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ 

5. วัดค่าคลอไรด์ (Chloride) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.01.05 189231
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

1. วัดค่าคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำ Residual Free Chlorine ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.01 189232
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

2. วัดค่าสาหร่าย Algae ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.02 189233
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

3. วัดค่าสารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย (TSD) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.03 189234
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

4. วัดค่าความกระด่าง (Hardness)  ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.04 189235
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

5. วัดค่าซัลเฟต (SO4) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.05 189236
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

6. วัดค่าคลอไรด์ (CI) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.06 189237
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

7. วัดค่าไนเตรท (NO3) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.07 189238
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

8. วัดค่าฟลูออไรด์ (F) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.08 189239
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

9. ตรวจสอบค่าเหล็ก (Fe) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.09 189240
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

10. วัดค่าแมงกานีส (Mn) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.10 189241
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

11. วัดค่าทองแดง (Cu) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.11 189242
02305.02

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี

12. วัดค่าสังกะสี ( Zn ) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.02.12 189243
02305.03

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

1. วัดค่า ตะกั่ว (Pb) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.03.01 189244
02305.03

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

2. วัดค่าโครเมี่ยม (Cr) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.03.02 189245
02305.03

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

3. วัดค่าแคดเมี่ยม (Cd) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.03.03 189246
02305.03

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

4. วัดค่าสารหนู (As) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.03.04 189247
02305.03

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

5. วัดค่าปรอท (Hg) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.03.05 189248
02305.04

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา

1. วัดค่าแบคทีเรียทั้งหมด (Heterotrophic Bacteria) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.04.01 189249
02305.04

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา

2. วัดค่าโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (Coliform bacteria) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.04.02 189250
02305.04

ตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา

3. วัดค่าฟีคัลโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (Faecal Coliform Bacteria) ของน้ำอย่างถูกต้องด้วยวิธีการตามคู่มือการปฏิบัติงาน

02305.04.03 189251
02305.05

รายผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

1. สรุปผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปาได้อย่างถูกต้อง 

02305.05.01 189252
02305.05

รายผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

2. เขียนรายผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปาได้อย่างละเอียดถูกต้อง

02305.05.02 189253
02305.05

รายผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

3. ประสานงานกับฝ่ายผลิตในการควบคุมคุณภาพน้ำประปาให้น้ำประปาได้ตามข้อกำหนดมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง

02305.05.03 189254

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ




    1. ทักษะการตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปาได้ตามหลักการ ที่ถูกต้อง และใช้เครื่องมือใน LAB ได้อย่าถูกต้องและปลอดภัย

    2. ทักษะการบันทึก/สรุปผลการวิเคราะห์ตามผลการทดลองจริงที่ได้จากการเก็บตัวอย่างน้ำประปา

    3. ทักษะการทวนสอบค่าวิเคราะห์ หรือทำการทดสอบซ้ำ ตามแผน หรือในกรณีที่พบค่าที่ผิดปกติ

    4. ทักษะการคำนวณ/คาดการณ์

    5. ทักษะการวิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า



(ข) ความต้องการด้านความรู้




    1. ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

    2. ความรู้เกี่ยวกับหลักการทำงานแต่ละขั้นตอนของระบบผลิตประปา

    3. ความรู้เบื้องต้น ขั้นตอน วิธี ในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา

    4. ความรู้ด้านความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์




14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

  • หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ

    1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

    2. แบบบันทึกรายการจากการสังเกต



  • หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) อาทิ

    1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

    2. ใบรับรองการผ่านการประเมิน

    3. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา



  • คำแนะนำในการประเมิน

    1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้



  • วิธีการประเมิน

    1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 

    2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 

    3. พิจารณาจากการข้อสอบข้อเขียน

    4. พิจารณาจากการสอบปฏิบัติ




15. ขอบเขต (Range Statement)

  • คำแนะนำ



หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา โดยในการทดสอบต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้






    1. มีรายการเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับการทดสอบประเมินเพื่อตรวจสอบเครื่องมือก่อนและหลังการทดสอบ

    2. เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ทดสอบต้องพร้อมสำหรับการทดสอบประเมินทุกครั้งก่อนการทดสอบประเมิน



  • คำอธิบายรายละเอียด



การตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา และเกณฑ์ข้อกำหนดในการตรวจสอบดังนี้






    1. การตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา หมายถึง ตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา ตามาตรฐานน้ำประปา องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้อย่างถูกต้องตามวิธีการ ช่วงเวลาที่กำหนด เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา และเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำประปา โดยในการตรวจสอบคุณภาพน้ำประปาในแต่ละคุณสมบัติ จะมีการวิธีการตรวจสอบที่ต่างกัน ดังนั้นจึงมีการจำแนกเป็นการตรวจสอบต่างๆ เช่น คุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมีทั่วไป ทางโลหะหนักทั่วไป ทางโลหะหนัก สารเป็นพิษ ทางแบคทีเรีย และมีการกำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบ เช่น ตรวจสอบประจำวัน ประจำเดือน เป็นต้น

    2. การตรวจวิเคราะห์และทดสอบตัวอย่างน้ำในห้องปฏิบัติการ โดยทำการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทั้ง 4 ด้าน  ดังนี้





ข้อมูลที่ตรวจวิเคราะห์ ค่ามาตรฐานที่กำหนด หน่วยวัด








      1. คุณภาพน้ำทางกายภาพ


        1. ความเป็นกรด ด่าง (PH)

        2. ความขุ่น (Turbidity)

        3. สี (Color)

        4. การนำไฟฟ้า (Conductivity)

        5. อุณหภูมิ (Temperature)



      2. คุณภาพน้ำทางเคมี

        1. คลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำ Residual Free Chlorine

        2. สาหร่าย Algae

        3. สารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย (TSD)

        4. ความกระด้าง (Hardness)

        5. ซัลเฟต (SO4)

        6. คลอไรด์ (CI)

        7. ไนเตรท (NO3)

        8. ฟลูออไรด์ (F)

        9. เหล็ก (Fe)

        10. แมงกานีส (Mn)

        11. ทองแดง (Cu)

        12. สังกะสี (Zn)



      3. คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ

        1. ตะกั่ว (Pb)

        2. โครเมี่ยม (Cr)

        3. แคดเมี่ยม (Cd)

        4. สารหนู (As)

        5. ปรอท (Hg)



      4. คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา

        1. แบคทีเรียทั้งหมด (Heterotrophic Bacteria)

        2. โคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (Coliform bacteria)

        3. ฟีคัลโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย (Faecal coliform bacteria)
           






    1. เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำประปาของกรมอนามัย ปี พ.ศ. 2553





     เกณฑ์คุณภาพน้ำบริโภคกรมอนามัย  พ.ศ. 2553

















ข้อมูล



หน่วยวัด



ค่าที่กำหนด



        ความเป็นกรด-ด่าง  (pH)



        ความขุ่น  (Turbidity)



        สี  (Color)



        สารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย(TDS)



        ความกระด้าง  (Hardness)



        ซัลเฟต  (SO=4)



        คลอไรด์  (CI-)



        ไนเตรท  (NO-3 as NO-3)



        ฟลูออไรด์  ( F-)



        เหล็ก  (Fe)



        แมงกานีส  (Mn)



        ทองแดง  (Cu)



        สังกะสี  (Zn)



        ตะกั่ว  (Pb)



        โครเมียม  (Cr)



        แคดเมียม  (Cd)



        สารหนู  (As)



        ปรอท  (Hg)



        แบคทีเรียประเภทโคลิฟอร์ม



       (Coliform bacteria)                      



        แบคทีเรียประเภทฟีคัลโคลิฟอร์ม



        (Faecal  coliform  bacteria)



-



เอ็นทียู



แพลตตินัมโคบอลท์



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



มิลลิกรัม/ลิตร



เอ็มพีเอ็น/100 มิลลิลิตร



 



เอ็มพีเอ็น/100 มิลลิลิตร



อยู่ระหว่าง 6.5-8.(Field test)



ไม่เกิน 10



ไม่เกิน 15



ไม่เกิน 1,000



ไม่เกิน 500



ไม่เกิน 250



ไม่เกิน  250



ไม่เกิน 50



ไม่เกิน 0.7



ไม่เกิน 0.5



ไม่เกิน 0.3



ไม่เกิน 1.0



ไม่เกิน 3.0



ไม่เกิน 0.03



ไม่เกิน 0.05



ไม่เกิน 0.003



ไม่เกิน 0.01



ไม่เกิน 0.001



ต้องตรวจไม่พบ



 



ต้องตรวจไม่พบ




 



หมายเหตุ    1.  คลอรีนอิสระคงเหลือ  (Residual Free Chlorine) กำหนดให้มีที่ปลายเส้นท่อ 0.2 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เพื่อใช้ในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปา



                   2.  วิธีการตรวจเป็นไปตามวิธีการในหนังสือ Standard Method for The Examination of Water   and Wastewater, 20 th ed.






    1. คู่มือการปฏิบัติงาน หมายถึง คู่มือที่ใช้ประกอบในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการนั้นๆ โดยการปฏิบัติงานในที่นี้หมายถึงการปฏิบัติงานตรวจสอบคุณภาพน้ำประปา ซึ่งคู่มือการปฏิบัติงาน ได้แก่ การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ หรือการตรวจวัดคุณภาพน้ำในระบบผลิตและระบบจำหน่าย หรือการประปาส่วนภูมิภาคคู่มือการควบคุมการผลิตน้ำประปาผิวดิน สำนักบริหารจัดการน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ เป็นต้น

    2. ปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐานตามหน่วยงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้ำบริโภค มอก. 257-2549 ประกาศกรมอนามัย  (29 กุมภาพันธ์ 2543)

    3. ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยตามคู่มือการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย  และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของกองตรวจความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หรือสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) หรือสถานประกอบการกำหนด




16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

  • เครื่องมือประเมินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางกายภาพ

    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

    3. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์

    3. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางสารเป็นพิษ


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางจุลชีววิทยา


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




  • เครื่องมือประเมินการรายผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำประปา


    1. แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์

    2. แบบฟอร์มประเมินผลการสาธิตการปฏิบัติงาน

    3. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

    4. ผลข้อสอบข้อเขียน





ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



ยินดีต้อนรับ