หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ให้คำแนะนำและสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-FEBD-402B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ให้คำแนะนำและสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด สามารถเตรียมแผนงาน การสอนงาน และประเมินผลสำหรับการให้คำแนะนำและ สอนงาน เพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับการสอนงานมีความเข้าใจและทำการสอบเทียบได้อย่างถูกต้อง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา อาชีพผู้ควบคุมงานสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
- เอกสารระบบคุณภาพของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ- คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) - ISO/IEC 17025:2017 ; General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01TR4AA41

เตรียมแผนและสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

1. สามารถเรียงลำดับเนื้อหาสำหรับการสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้อย่างเหมาะสม

01TR4AA41.01 191043
01TR4AA41

เตรียมแผนและสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

2. สามารถจัดทำสื่อการสอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้อย่างเหมาะสม

01TR4AA41.02 191044
01TR4AA41

เตรียมแผนและสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

3. สามารถสอนการปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้สมบูรณ์

01TR4AA41.03 191045
01TR4AA42

ประเมินผลการสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

1. สามารถประเมินผลก่อนการสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้อย่างเหมาะสม

01TR4AA42.01 191046
01TR4AA42

ประเมินผลการสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด

2. สามารถประเมินผลหลังการสอนงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้อย่างเหมาะสม

01TR4AA42.02 191047

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

 1. การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด



     2. การเตรียมแผนงาน การจัดทำสื่อการสอนงาน และประเมินผล



         3. ระบบคุณภาพของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

 (ก) ความต้องการด้านทักษะ



    1. สามารถถ่ายทอด ให้คำแนะนำและสอนการปฏิบัติงานการสอบเทียบ (On the Job Training) เครื่องมือวัดสาขาแรงบิด และการประเมินผล



    2. สามารถจัดทำสื่อการสอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด



    3. สามารถปฏิบัติตามระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ สอดคล้องตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025

(ข) ความต้องการด้านความรู้

(ข) ความต้องการด้านความรู้



    1. ความรู้ในการสอบเทียบสาขาแรงบิด



    2. ความรู้ในการเตรียมแผนงาน การสอนงาน และประเมินผล



    3. ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการ สอดคล้องตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

 (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. บันทึกการอบรม



2. แบบประเมินการอบรม



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



 1. ผลการสอบข้อเขียน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินสมรรถนะเกี่ยวกับการให้คำแนะนำ และสอนงานด้านการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด โดยพิจารณาจากผลการสอบข้อสอบข้อเขียนและหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้



 (ง) วิธีการประเมิน



 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน



 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



 2. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



1. เอกสารระบบคุณภาพของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ



2. คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction)



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ได้แก่วิธีการที่ห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยอ้างอิงมาตรฐานแห่งชาติหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือวิธีการที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้นซึ่งได้มีการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีแล้วสามารถใช้งานได้



2. เครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator เป็นเครื่องมือมาตรฐาน สำหรับสอบเทียบ เครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ประเภท Torque Wrench, Torque Screwdriver จำแนกชนิดออกเป็น Type I : Class B, C, D, E และ Type II : Class A, B, D, E เป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุตามมาตรฐาน ISO 6789-1:2017



3. สำหรับความหมายโดยภาพรวม จะรวมถึงเครื่องมือวัดทางสาขาแรงบิด ประเภท อื่นๆ ได้แก่ Torque Meter, Torque Calibrator, Static Torque Transducer และ Torque Multiplier เป็นต้น



(ค) เอกสารอ้างอิง



1. ISO/IEC 17025:2017 ; General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories



2. ISO 6789-1:2017 ; Assembly tools for screws and nuts-Hand torque tools



3. ISO 6789-2:2017 ; Assembly tools for screws and nuts-Hand torque tools


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน



 2. พิจารณาจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



        2.1. ณ องค์กรรับรอง



        2.2. ณ สถานประกอบการ



 3. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ