หน่วยสมรรถนะ
ทวนสอบและรับรองผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-FDJW-399B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ทวนสอบและรับรองผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทำการทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ก่อนนำไปใช้งาน และทำการตรวจสอบระหว่างการใช้งานเป็นระยะๆ เพื่อให้มั่นใจในการใช้งานของเครื่องมือมาตรฐาน |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา อาชีพผู้ควบคุมงานสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาแรงบิด |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01TR4AA11 ทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด |
1. กำหนดเกณฑ์ยอมรับของเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด
ได้ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01TR4AA11.01 | 191016 |
01TR4AA11 ทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด |
2. ทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด
ก่อนนำไปใช้งานตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01TR4AA11.02 | 191017 |
01TR4AA12 ตรวจสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด
ระหว่างใช้งาน |
1. กำหนดเกณฑ์ยอมรับของการตรวจสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด
ระหว่างการใช้งานได้ตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01TR4AA12.01 | 191018 |
01TR4AA12 ตรวจสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด
ระหว่างใช้งาน |
2. ตรวจสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ระหว่างใช้งานตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01TR4AA12.02 | 191019 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
สามารถเข้าใจการใช้งาน และดูแลรักษาเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. การทวนสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator ก่อนนำไปใช้งาน 2. การตรวจสอบระหว่างการใช้งานของเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator
(ข) ความต้องการด้านความรู้ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. รู้เกี่ยวกับการทวนสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator ก่อนนำไปใช้งาน 2. รู้เกี่ยวกับการตรวจสอบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงด้านแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque หรือ Torque Calibrator ระหว่างใช้งาน 3. รู้เกี่ยวกับเกณฑ์ยอมรับได้ของเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. บันทึกผลการทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator 2. บันทึกการตรวจสอบระหว่างใช้งานของเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ใบรับรองการฝึกอบรม หรือ บันทึกการฝึกปฏิบัติงาน (On the job training) โดยมีผู้ลงนามรับรอง 2. บันทึกผลข้อสอบข้อเขียน (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator และการตรวจสอบระหว่างการใช้งาน โดยพิจารณาจากผลการสอบข้อสอบข้อเขียน หลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน 3. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ 1. การตรวจสอบระหว่างการใช้งาน เป็นการตรวจสอบเป็นระยะๆ เพื่อให้มั่นใจในสถานะการสอบเทียบเครื่องมือ (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. เครื่องมือมาตรฐานสาขาแรงบิด ประเภท Torque Transducer หรือ Torque Calibrator เป็นเครื่องมือมาตรฐาน สำหรับสอบเทียบ เครื่องมือวัดสาขาแรงบิด ประเภท Torque Wrench, Torque Screwdriver จำแนกชนิดออกเป็น Type I : Class B, C, D, E และ Type II : Class A, B, D, E เป็นไปตามข้อกำหนดที่ระบุตามมาตรฐาน ISO 6789-1:2017 2. สำหรับความหมายโดยภาพรวม จะรวมถึงเครื่องมือวัดทางด้านแรงบิด ประเภท อื่นๆ ได้แก่ Torque Meter, Torque Calibrator, Static Torque Transducer และ Torque Multiplier เป็นต้น (ค) เอกสารอ้างอิง 1. ISO/IEC 17025:2017 ; General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories 2. ILAC G8:09/2019 ; Guidelines on decision rules and statements of conformity 3. UKAS LAB 48 (Edition 4, April 2022) ; Decision rules and statements of conformity 4. BS 7882:2017 ; Method for calibration and classification of torque measuring devices 5. DKD-R3-8:2010 ; Static calibration of calibration devices for torque wrench and screwdrivers 6. ISO 6789-1:2017 ; Assembly tools for screws and nuts-Hand torque tools |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน 2. พิจารณาจากการสาธิตการปฏิบัติงาน 2.1. ณ องค์กรรับรอง 2.2. ณ สถานประกอบการ 3. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน |