หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

พัฒนาระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-LVRE-237B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ พัฒนาระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยํา (ISCO-08 Thai version)


1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการ สามารถตรวจสอบการนำระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการที่ได้จัดทำขึ้นไปปฏิบัติ รวมทั้งสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา สาขาอาชีพผู้บริหารจัดการระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดระดับ 5

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01QS50021

ตรวจสอบการนำระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้จัดทำขึ้นไปปฏิบัติ

1. รู้และเข้าใจเรื่องการตรวจติดตามคุณภาพภายใน

01QS50021.01 187850

2. สามารถทำการตรวจติดตามคุณภาพภายในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการที่ได้จัดทำขึ้น

01QS50021.02 187851
01QS50022

บริหารจัดการความเสี่ยงของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยง

01QS50022.01 187852

2. ประยุกต์ใช้ความเสี่ยงในการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการสอบเทียบ

01QS50022.02 187853

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

มีประสบการณ์ปฏิบัติงานการสอบเทียบ มีความรู้ในการบริหารและวางแผนงานการดำเนินงานตามระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการให้เป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

(ก) ความต้องการด้านทักษะ



1. สามารถตรวจติดตามคุณภาพภายในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้จัดทำขึ้นตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025



2. สามารถบริหารจัดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

(ข) ความต้องการด้านความรู้



1. ความรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025 และ ISO 19011



2. ความรู้เกี่ยวกับระบบการบริหารงานของห้องปฏิบัติการสอบเทียบ



3. ความรู้เกี่ยวกับระบบมาตรวิทยาระดับชาติและสากล



4. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจติดตามคุณภาพภายใน



5. ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยง


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. บันทึกการแต่งตั้ง หนังสือรับรอง หรือ หลักฐานการได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจติดตามคุณภาพภายใน



2. บันทึกการแต่งตั้ง หนังสือรับรอง หรือ หลักฐานการได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการความเสี่ยงในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการ



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ใบรับรอง หรือ หลักฐานการเข้ารับการฝึกอบรมมาตรฐาน ISO/IEC 17025



2. ใบรับรอง หรือ หลักฐานการเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการตรวจติดตามคุณภาพภายใน



3. ใบรับรอง หรือ หลักฐานการเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการจัดการความเสี่ยง



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ตรวจประเมินเกี่ยวกับการนำระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่ได้จัดทำขึ้นไปปฏิบัติ รวมทั้งบริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ และจำลองสถานการณ์ให้ปฏิบัติงาน



(ง) วิธีการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน



2. แฟ้มสะสมผลงาน



3. การจำลองสถานการณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



สามารถกำกับดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบ และประเมินความสอดคล้องของระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่จัดทำขึ้น



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



ระบบการบริหารงานห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่จัดทำขึ้น จะต้องเป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025 และเหมาะสมกับทรัพยากรห้องปฏิบัติการที่มีอยู่



(ค) เอกสารอ้างอิง



1. ISO 10013 : 2021 Quality management systems



2. ISO/IEC 17025 : 2017 General requirements for the competence of testing and calibration laboratories



3. ISO 19011 : 2018 Guidelines for auditing management systems


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. พิจารณาผลสอบข้อสอบข้อเขียน



2. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน หรือ หลักฐานความรู้ในแฟ้มสะสมผลงาน



3. พิจารณาการจำลองสถานการณ์ในการปฏิบัติงาน