หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-EZGE-376B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงาน โดยสามารถออกแบบและกำหนดรายละเอียดการอบรม ดำเนินการอบรมด้วยการ ถ่ายทอดได้ครอบคลุมสาระสำคัญของหัวข้อการอบรม และออกแบบการประเมินผลก่อนและหลังการอบรม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา อาชีพผู้บริหารจัดการระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. เอกสารระบบคุณภาพของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ2. คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) 3. ISO/IEC 17025 General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01VO5AA31

ออกแบบรายละเอียดการอบรมและดำเนินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร 

1. สามารถกำหนดรายละเอียดการ ฝึกอบรม การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร ให้ครอบคลุมความ สามารถการปฏิบัติงานที่ต้องการ

01VO5AA31.01 190783
01VO5AA31

ออกแบบรายละเอียดการอบรมและดำเนินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร 

2. สามารถถ่ายทอด การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร ได้ครอบ คลุม สาระสำคัญของหัวข้อการอบรม

01VO5AA31.02 190784
01VO5AA32

ออกแบบการประเมินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร

1. สามารถจัดทำแบบประเมินผลการอบรม การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร ก่อนการอบรม

01VO5AA32.01 190785
01VO5AA32

ออกแบบการประเมินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร

2. สามารถจัดทำแบบประเมินผลการอบรม การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร หลังการอบรม

01VO5AA32.02 190786

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

มีประสบการณ์การปฏิบัติงานสอบเทียบสาขาปริมาตร มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือมาตรฐาน และเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร มีความเชี่ยวชาญการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขาปริมาตร การทวนสอบและการตรวจสอบระหว่างใช้งานของเครื่องมือ รวมถึงการวิเคราะห์ความถูกต้องผลการวัด การประเมินค่าความไม่แน่นอนของการวัด การจัดทำรายงานผลการสอบเทียบ การประกันคุณภาพการสอบเทียบ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ความสารถในการการถ่ายทอดความรู้ด้านมาตรวิทยาให้ผู้อื่นเข้าใจ



2. ความสามารถใช้สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ



3. ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องที่อบรม

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จัดอบรม



2. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดหัวข้อ เนื้อหารายละเอียด



3. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการบรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่างประกอบ



4. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบการประเมินก่อนและหลักการอบรม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

 (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. โบรชัวร์การจัดอบรม หรือ



2. หลักฐานการลงทะเบียนการอบรม หรือ



3. แบบประเมินก่อนและหลังการอบรม หรือ



4. สรุปความพึงพอใจการอบรม



 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. บันทึกแฟ้มสะสมผลงาน



2. บันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



3. บันทึกการสัมภาษณ์



 (ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะการถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานสาขาปริมาตร โดยพิจารณาจากผลการสอบข้อสอบข้อเขียนและหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้



 (ง) วิธีการประเมิน



1 พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน



3. พิจารณาจากบันทึกการสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

 (ก) คำแนะนำ



การประเมินความรู้ความสามารถของวิทยากร โดยผู้เข้าร่วมอบรม



 (ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. การประเมินความสามารถวิทยาการ เป็นการวัดความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมอบรม



2. สามารถออกแบบจัดร่างหลักสูตร การอบรมการสอบเทียบด้านปริมาตร การดำเนินการอบรม และวิธีการประเมินผลัมฤทธิ์ของการอบรมทั้งก่อนและหลังการอบรม



3. เครื่องมือมาตรฐานในการวัดสาขาปริมาตร ได้แก่ เครื่องชั่ง



          4. เครื่องมือมาตรฐานในการวัดสภาวะแวดล้อมสาขาปริมาตร ได้แก่ Barometer, Thermometer, Thermo-Hygrometer, Stop Watch เป็นต้น



           5. เครื่องมือวัดสาขาปริมาตรในหน่วยสมรรถนะนี้ หมายถึง



 5.1 เครื่องมือวัดสาขาปริมาตรประเภท Glassware เช่น Cylinder, Volumetric Flasks, Volumetric Pipette, Burets, Graduated Pipette เป็นต้น



 5.2 เครื่องมือวัดสาขาปริมาตรประเภท Piston-operated เช่น Piston Pipette (Single, Multi), Dispenser, Piston burette เป็น



(ค). เอกสารอ้างอิง



 1. ISO/IEC 17025 General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories



 2. ASTM E 542-01 (2021) Standard Practice for calibration of Laboratory Volumetric Apparatus



3. ISO 8655–2: 2002, Piston – operated volumetric apparatus – Part 2: Piston pipettes



4. ISO 8655–3: 2002, Piston – operated volumetric apparatus – Part 3: Piston burettes



5. ISO 8655–5: 2002, Piston – operated volumetric apparatus – Part 5: Dispensers



6. ISO 8655–6: 2002, Piston – operated volumetric apparatus–Part 6: Gravimetric methods for the determination of measurement error



7. ISO/TR 20461: 2000 Determination of uncertainty for volumetric measurements made using the gravimetric method


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน



3. พิจารณาจากบันทึกการสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ