หน่วยสมรรถนะ
คำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-SCER-232B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | คำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยํา (ISCO-08 Thai version) 1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และสถิติในการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัดแบบเอ ค่าความไม่แน่นอนของการวัดแบบบี ค่าความไม่แน่นอนมาตรฐานรวม ค่าตัวประกอบครอบคลุม สัมประสิทธิ์ความไว ค่าความไม่แน่นอนขยาย ระดับของความเชื่อมั่น และการรายงานค่าความไม่แน่นอนของการวัดได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพมาตรวิทยา อาชีพผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดระดับ 3 |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01QS30011 คำนวณผลการวัดโดยวิธีทางสถิติ |
1. ประยุกต์ใช้งานคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา |
01QS30011.01 | 187815 |
01QS30011 คำนวณผลการวัดโดยวิธีทางสถิติ |
2. รู้และเข้าใจสูตรคำนวณทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับค่าความไม่แน่นอน |
01QS30011.02 | 187816 |
01QS30012 รู้หลักการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
1. ระบุที่มาของค่าความไม่แน่นอนแบบเอ (Type A) และค่าความไม่แน่นอนแบบบี (Type
B) |
01QS30012.01 | 187817 |
01QS30012 รู้หลักการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
2. แปลงค่าความไม่แน่นอนต่างๆ
ให้อยู่ในรูปค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน (standard uncertainty) |
01QS30012.02 | 187818 |
01QS30012 รู้หลักการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
3. การรวมค่าความไม่แน่นอนและการรายงาน |
01QS30012.03 | 187819 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. การใช้คำศัพท์มาตรวิทยาพื้นฐาน 2. การประยุกต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติ 3. การใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมประยุกต์สำหรับการคำนวณค่าความไม่แน่นอนของการวัด (ข) ความต้องการด้านความรู้ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. คำศัพท์มาตรวิทยาพื้นฐาน 2. สถิติเบื้องต้นสำหรับงานด้านมาตรวิทยา 3. การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) N/A (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) N/A (ค) คำแนะนำในการประเมิน ตรวจประเมินเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์และสถิติเบื้องต้นสำหรับงานด้านมาตรวิทยาและการประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด โดยพิจารณาจากผลการสอบข้อสอบข้อเขียน (ง) วิธีการประเมิน 1. ข้อสอบข้อเขียน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ 1. การวัดทุกประเภทจะมีค่าความไม่แน่นอนของการวัดเกิดขึ้นรวมอยู่ในผลลัพธ์การวัดเสมอ ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ Measured value = True value + uncertainty 2. สูตรคำนวณทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับค่าความไม่แน่นอน เช่น สูตรในการคำนวณค่าเฉลี่ยของผลการวัด สูตรในการหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สูตรในการรวมค่าความไม่แน่นอน เป็นต้น (ข) คำอธิบายรายละเอียด ค่าความไม่แน่นอนของการวัดมี 2 แบบ ได้แก่
(ค) เอกสารอ้างอิง 1. JCGM 100 : 2008 Guide to the expression of uncertainty in measurement 2 JCGM 200 : 2012 International vocabulary of metrology-Basic and general concepts and associated terms (VIM) 3. M3003 The expression of uncertainty and confidence in measurement (Edition 5, September 2000) 4. บทเรียนมาตรวิทยา โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2553 |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. พิจารณาจากผลสอบข้อสอบข้อเขียน |