หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปรับปรุงขัอมูลทางภูมิศาสตร์ (Improve geographic information)

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ICT-OTDY-500B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปรับปรุงขัอมูลทางภูมิศาสตร์ (Improve geographic information)

3. ทบทวนครั้งที่ / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักทำแผนที่และนักสํารวจ


1 2165 นักทำแผนที่และนักสำรวจ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถปรับปรุงขัอมูลทางภูมิศาสตร์ แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ (Edit Spatial Data) แก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย (Edit attribute data) เพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ จัดทำแผนที่ และสร้างผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับงาน โครงการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือหน่วยงาน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล สาขาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ อาชีพนักเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geomatics Technologist)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

1. กำหนด Snapping Environment

10202.01.01 188521
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

2. แก้ไขเส้นและรูปปิดหลายเหลี่ยมเป็นรูปร่างใหม่ (Reshape Feature)

10202.01.02 214658
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

3. ขยายเส้น (Extend)

10202.01.03 214659
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

4. ตัดเส้น (Trim)

10202.01.04 214660
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

5. แบ่งเส้น (Split)

10202.01.05 214661
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

6. แบ่งรูปปิดหลายเหลี่ยม (Cut polygon)

10202.01.06 214662
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

7. ตัดข้อมูล (Clip Features)

10202.01.07 214663
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

8. สร้างรูปปิดหลายเหลี่ยมเพิ่มโดยใช้ขอบร่วมกัน

10202.01.08 214664
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

9. รวม Feature ในชั้นข้อมูลเดียวกัน (Merge)

10202.01.09 214665
10202.01

แก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ 

(Edit Spatial Data)

10. รวม Feature ที่อยู่คนละ layer หรือใน layer เดียวกัน (Union)

10202.01.10 214666
10202.02

แก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย (Edit attribute data)

1. ปรับปรุงค่าในตารางเชิงบรรยายข้อมูลครั้งละ 1 feature

10202.02.01 188522
10202.02

แก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย (Edit attribute data)

2. ปรังปรุงค่าในตารางเชิงบรรยายให้กับข้อมูลที่ได้เลือกทั้งหมด

10202.02.02 214650
10202.02

แก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย (Edit attribute data)

3. คัดลอกและวางค่าข้อมูลเชิงบรรยาย

10202.02.03 214651

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

2.    ทักษะการวางแผนและวิเคราะห์โครงการ

3.    ทักษะการบูรณาการแผนและนโยบาย

4.    ทักษะในการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

5.    ทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

  1.  ความรู้ด้านองค์ประกอบของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

  2.  ความรู้ด้านการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

  3.  ความรู้ด้านเส้นโครงแผนที่และระบบพิกัด (Map and Map Projection)

  4.  ความรู้ด้านการอ่านแผนที่

  5.  ความรู้ด้านหลักการเบื้องต้นระบบสารสนเทศภูมิสารสนเทศ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

N/A 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     1. ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม

     2. ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

    1. ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการกำหนดวัตถุประสงค์โครงการโดยพิจารณาร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้

(ง)    วิธีการประเมิน

    1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบ โดยในการประเมินต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้

     1) ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงความรู้ และสามารถปรับปรุงขัอมูลทางภูมิศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ระบุข้อมูลที่จำเป็นหรือต้องการในงาน หรือโครงการตามที่หน่วยงานหรือองค์กร ต้องการได้อย่างเหมาะสม



(ข) คำอธิบายรายละเอียด

    การจัดเก็บและการแก้ไขข้อมูล (Data storage and editing) ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ถูกจัดเก็บตามประเภทของข้อมูล ซึ่งมีลักษณะเป็นข้อมูลเชิงภาพ ได้แก่ จุด เส้น รูปหลายเหลี่ยม และข้อมูลเชิงบรรยาย ที่ประกอบด้วยตัวอักษระและตัวเลข เช่น ชื่อสถานที่ ชื่อทางภูมิศาสตร์ ค่าพิกัดของตารางพิกัดถูกจัดเก็บในรูปของแฟ้มข้อมูลที่แยกออกจากกันเป็นชั้นข้อมูล (Data Layer) ตามลักษณะเพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและแก้ไข แฟ้มของชั้นข้อมูลเหล่านี้จะเชื่อมต่อกันในลักษณะซ้อนทับกัน ข้อมูลในทุกชั้นข้อมูลจะเชื่อมโยงกันโดยอาศัยตำแหน่งทางภูมิศาสตร์เป็นตัวเชื่อมในลักษณะอ้างอิงกับตำแหน่งจริงบนพื้นผิวของโลก (Geocoding) 

   การแก้ไขข้อมูล สามารถแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแต่ละชั้นข้อมูลได้อย่างเป็นอิสระไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน หรือการแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน ชั้นข้อมูลที่ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้วจะถูกจัดเก็บในลักษณะของแฟ้มข้อมูล (Data File) เพื่อการวิเคราะห์ต่อไป ผลของการวิเคราะห์ที่ได้สามารถนำเสนอในรูปแบบของแผนที่ รายงาน หรือตารางข้อมูล แล้วแต่ความเหมาะสมหรือความต้องการของหน่วยงาน หรือองค์กร

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินการแก้ไขข้อมูลเชิงพื้นที่ (Edit Spatial Data) 

     1. สาธิตการปฏิบัติงาน

     ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

18.2 เครื่องมือประเมินการแก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย (Edit attribute data) 

     1. สาธิตการปฏิบัติงาน

     ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ