หน่วยสมรรถนะ
ให้คำแนะนำ คำปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-HBFL-289B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ให้คำแนะนำ คำปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงาน |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ มีความรู้และความเข้าใจการทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ มาตรฐานอุตสาหกรรม ทฤษฎีความไม่แน่นอน และมีความสามารถในการประเมิน สามารถคาดการณ์ได้ถึงผลผลิต และผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการดำเนินงาน โครงการ กระบวนการ กิจกรรม และสามารถบ่งชี้ จุดบกพร่องตลอดจนปัจจัยหรือตัวแปรที่ส่ง รวมถึงเสนอแนะวิธีการที่มีประสิทธิภาพ หรือการประยุกต์การใช้เครื่องมือกระบวนการที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมอันจำกัดขององค์กรได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. เอกสารระบบการบริหารงานของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ2. คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) 3. ISO/IEC 17025 General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01MA60011 รับฟังปัญหา
หรือข้อติดขัด อุปสรรค ในการดำเนินงาน ของผู้ปฏิบัติงาน |
1.การรับฟังอย่างตั้งใจ สร้างพื้นที่ปลอดภัยในการ อธิบายปัญหา |
01MA60011.01 | 188952 |
01MA60011 รับฟังปัญหา
หรือข้อติดขัด อุปสรรค ในการดำเนินงาน ของผู้ปฏิบัติงาน |
2.ระบุประเด็น ตีความ ข้อเท็จจริงที่ เกิดขึ้น ตามหลักของกระบวนการทดสอบ
และ/หรือ สอบเทียบ |
01MA60011.02 | 188953 |
01MA60011 รับฟังปัญหา
หรือข้อติดขัด อุปสรรค ในการดำเนินงาน ของผู้ปฏิบัติงาน |
3.ตั้งคำถาม เพื่อระบุต้นตอของปัญหา |
01MA60011.03 | 188954 |
01MA60011 รับฟังปัญหา
หรือข้อติดขัด อุปสรรค ในการดำเนินงาน ของผู้ปฏิบัติงาน |
4. ตั้งสมมุติฐานของปัญหา โดยอ้างอิงจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง |
01MA60011.04 | 188955 |
01MA60012 เลือกแนวทางการแก้ไขปัญหา
จากความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนแนว ปฏิบัติที่ดี |
1.ทดสอบสมมุติฐาน จนได้ข้อเท็จริง และระบุต้นตอของปัญหา |
01MA60012.01 | 188959 |
01MA60012 เลือกแนวทางการแก้ไขปัญหา
จากความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนแนว ปฏิบัติที่ดี |
2.บ่งชี้ ปัจจัย ตัวแปร ที่เป็นสาเหตุ |
01MA60012.02 | 188960 |
01MA60012 เลือกแนวทางการแก้ไขปัญหา
จากความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนแนว ปฏิบัติที่ดี |
3. คัดเลือกแนวทางแก้ไขปัญหา ที่สามารถอ้างอิงได้ จากความรู้ ประสบการณ์ หรือ
แนวปฏิบัติที่ดี และ มีความยั่งยืน |
01MA60012.03 | 188961 |
01MA60013 ให้คำแนะนำ
คำปรึกษา ทำความเข้าใจ ต่อผู้รับคำปรึกษา |
1.ลำดับเหตุการณ์ ข้อสรุป และ ความเป็นมา สาเหตุ ตัวแปรที่เกี่ยวข้องส่งผล
ผลผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น |
01MA60013.01 | 188962 |
01MA60013 ให้คำแนะนำ
คำปรึกษา ทำความเข้าใจ ต่อผู้รับคำปรึกษา |
2.ถ่ายทอด ความรู้ และวิธีทำ เพื่อให้ ผู้รับคำแนะนำปรึกษา สามารถเข้าใจ ได้ |
01MA60013.02 | 188963 |
01MA60013 ให้คำแนะนำ
คำปรึกษา ทำความเข้าใจ ต่อผู้รับคำปรึกษา |
3. ทบทวนความเข้าใจ ยืนยันผล ของการให้คำแนะนำ คำปรึกษา |
01MA60013.03 | 188964 |
01MA60014 ประเมิน
กระบวนการ ผลผลิตคาดการณ์ผลผลิตที่ได้รับ ความสอดคล้อง กับเป้าหมาย |
1.ติดตามผล และ ประเมิน ระดับความเข้าใจ ผลผลิต ผลลัพธ์ที่ได้ |
01MA60014.01 | 188965 |
01MA60014 ประเมิน
กระบวนการ ผลผลิตคาดการณ์ผลผลิตที่ได้รับ ความสอดคล้อง กับเป้าหมาย |
2. คาดการณ์ถึงผลผลิต และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการ ให้คำแนะนำ |
01MA60014.02 | 188966 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ความรู้เกี่ยวกับ มาตรฐานอุตสาหกรรม และ การขอรับรองมาตรฐาน เกณฑ์การตรวจประเมิน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
ตรวจประเมินจากผลงานในอดีต หรือสัมภาษณ์ ถึงบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนระดับของความมีส่วนร่วมในข้อคิดเห็น คำชี้แนะ ให้คำปรึกษา ซึ่งต้องอ้างอิงได้ถึงประสบการณ์ กรณีศึกษา แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ แก้ปัญหานั้น หรือเพื่อนำเสนอ แนวปฏิบัติ หรือกิจกรรม หรือโครงการ
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตตามหน่วยสมรรถนะนี้ เป็นขอบเขตตามบทบาทหน้าที่ของ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ที่จำเป็นจะต้อง ผสมผสานความรู้ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยจะต้องคัดเลือก แม่แบบ หรือ ทฤษฎีที่มีความเหมาะสมตามสถานณ์การ ที่เอื้ออำนวย เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|