หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-QVVU-288B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงาน โดยสามารถออกแบบและกำหนดรายละเอียดการอบรม ดำเนินการอบรมด้วยการ ถ่ายทอดได้ครอบคลุมสาระสำคัญของหัวข้อการอบรม และออกแบบการประเมินผลก่อนและหลังการอบรม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา อาชีพผู้บริหารจัดการระบบการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. เอกสารระบบคุณภาพของหน่วยงานหรือห้องปฏิบัติการ2. คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) 3. ISO/IEC 17025 General Requirements for Competence of Testing and Calibration laboratories

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01MA5AA31

ออกแบบรายละเอียดการอบรมและดำเนินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

1. สามารถกำหนดรายละเอียดการ ฝึกอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล ให้ครอบคลุมความสามารถการปฏิบัติงานที่ต้องการ

01MA5AA31.01 188942
01MA5AA31

ออกแบบรายละเอียดการอบรมและดำเนินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

2. สามารถถ่ายทอดการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล ได้ครอบคลุม สาระ สำคัญของหัวข้อการอบรม

01MA5AA31.02 188943
01MA5AA32

ออกแบบการประเมินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

1. สามารถจัดทำแบบประเมินผลการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล ก่อนการอบรม

01MA5AA32.01 188944
01MA5AA32

ออกแบบการประเมินการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล

2. สามารถจัดทำแบบประเมินผลการอบรมการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล หลังการอบรม

01MA5AA32.02 188945

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

มีประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลมีความชำนาญในการใช้เครื่องมือมาตรฐานสาขามวล สามารถทวนสอบและการตรวจสอบระหว่างใช้งานของเครื่องมือ รวมถึงการวิเคราะห์ความถูกต้องผลการวัด การประมาณค่าความไม่แน่นอนของการวัด การจัดทำรายงานผลการสอบเทียบ การเฝ้าระวังความใช้ได้ของผลการสอบเทียบ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ความสารถในการการถ่ายทอดความรู้สาขามาตรวิทยาให้ผู้อื่นเข้าใจ



2. ความสามารถใช้สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ



3. ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องที่อบรม

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จัดอบรม



2. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดหัวข้อ เนื้อหารายละเอียด



3. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการบรรยาย การฝึกปฏิบัติ การยกตัวอย่างประกอบ



4. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบการประเมินก่อนและหลักการอบรม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. โบรชัวร์การจัดอบรม หรือ



2. หลักฐานการลงทะเบียนการอบรม หรือ



3. แบบประเมินก่อนและหลังการอบรม หรือ



4. สรุปความพึงพอใจการอบรม



 



 



 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



           1. บันทึกแฟ้มสะสมผลงาน



2. บันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



3. บันทึกการสัมภาษณ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะการถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติงานการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลโดยพิจารณาจากผลการสอบข้อสอบข้อเขียนและหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



           1. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



           2. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน



           3. พิจารณาจากบันทึกการสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

 (ก) คำแนะนำ



N/A



 (ข) คำอธิบายรายละเอียด




  1. เครื่องมือมาตรฐานสาขามวล ได้แก่ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Standard Weight)

  2. เครื่องมือวัดสาขามวลประเภทเครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ และตุ้มน้ำหนัก


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



2. พิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน



3. พิจารณาจากบันทึกการสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ