หน่วยสมรรถนะ
การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | TAA-DOAW-280B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถเตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักเลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานสาขามวล ได้อย่างเหมาะสม สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐานตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน บันทึกข้อมูลผลการสอบเทียบได้ครบถ้วน และคำนวณผลการสอบเทียบได้อย่างถูกต้อง |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา อาชีพผู้สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวล |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction) |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
01MA3AB11 เตรียมความพร้อมก่อนการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน
เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
1.เลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานให้เหมาะสมกับชนิดของเครื่องมือสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักต้องการสอบเทียบตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB11.01 | 188609 |
01MA3AB11 เตรียมความพร้อมก่อนการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน
เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
2. เตรียมความพร้อมเครื่องมือมาตรฐานสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB11.02 | 188610 |
01MA3AB11 เตรียมความพร้อมก่อนการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน
เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
3. เตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักจะทำการสอบเทียบ |
01MA3AB11.03 | 188611 |
01MA3AB11 เตรียมความพร้อมก่อนการ
สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน
เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
4. บันทึกรายละเอียดของเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักที่จะทำการสอบเทียบและเครื่องมือมาตรฐานในแบบบันทึกผลตามที่ห้องปฏิบัติการกำหนด |
01MA3AB11.04 | 188612 |
01MA3AB12 ปฏิบัติการการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้
ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
1. รู้เกี่ยวกับเกณฑ์กำหนดของสภาวะแวดล้อมห้องปฏิบัติการสำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทเครื่องตุ้มน้ำหนักตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB12.01 | 188613 |
01MA3AB12 ปฏิบัติการการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้
ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
2. สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทเครื่องตุ้มน้ำหนักตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB12.02 | 188614 |
01MA3AB12 ปฏิบัติการการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้
ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
3. อ่านค่าเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทเครื่องตุ้มน้ำหนักได้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB12.03 | 188615 |
01MA3AB13 บันทึกผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้
ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
1. บันทึกค่าที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทเครื่องตุ้มน้ำหนักตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB13.01 | 188616 |
01MA3AB13 บันทึกผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้
ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐาน |
2. บันทึกค่าที่อ่านได้จากเครื่องมือสาขามวลประเภทเครื่องตุ้มน้ำหนักตามคู่มือการปฏิบัติงาน |
01MA3AB13.02 | 188617 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
สามารถใช้งานและบำรุงรักษา เครื่องมือวัดสภาวะแวดล้อม เครื่องมือวัดทางสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักโดยใช้ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน เป็นเครื่องมือมาตรฐานก่อนและหลังใช้งานได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถเลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักและการเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการใช้งาน 2. สามารถปฏิบัติการเคลื่อนย้ายเครื่องมือมาตรฐานเพื่อไปสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย 3. สามารถจัดเตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนัก 4. สามารถใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมประยุกต์สำหรับคำนวณผลการสอบเทียบ 5. การใช้เครื่องมือคำนวณ หรือโปรแกรมคำนวณผล (ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบ การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนัก และการบันทึกและคำนวณผลการสอบเทียบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
1. เครื่องมือวัดมาตรฐานสาขามวล หมายถึง เครื่องมือ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Standard Weight)
1. วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนักจัดทำขึ้นโดยอ้างอิงมาตรฐานแห่งชาติหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือวิธีการที่ห้องปฏิบัติการพัฒนาขึ้นซึ่งได้มีการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีแล้วสามารถใช้งานได้ 2. เครื่องมือมาตรฐานสาขามวล ได้แก่ ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน (Standard Weight) 3. เครื่องมือวัดสาขามวลในหน่วยสมรรถนะนี้หมายถึงเครื่องมือวัดสาขามวลประเภทตุ้มน้ำหนัก และโดยในภาพรวมยังรวมถึง เครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส์ คือเครื่องมือวัดที่ใช้เพื่อวัดน้ำหนักของวัสดุหรือชิ้นงานที่มากระทำ (ค) เอกสารอ้างอิง
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน 2.1. ณ องค์กรรับรอง 2.2. ณ สถานประกอบการ |