หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TAA-XKVD-242B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ (ISCO-08 Thai version)


1 7311 ช่างทำและซ่อมเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรงแม่นยำ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถเตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliperและเลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานสาขามิติได้อย่างเหมาะสม สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper โดยใช้เกจบล็อก หรือ caliper checker เป็นเครื่องมือมาตรฐานตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน บันทึกข้อมูลผลการสอบเทียบได้ครบถ้วน และคำนวณผลการสอบเทียบได้อย่างถูกต้อง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริการอุตสาหกรรม สาขามาตรวิทยา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
คู่มือการปฏิบัติงาน (Calibration Procedure หรือ Working Instruction)

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
01DM3AB11

เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

1.เลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานให้เหมาะสมกับชนิดของเครื่องมือสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ที่ต้องการสอบเทียบตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB11.01 187875
01DM3AB11

เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

2. เตรียมความพร้อมเครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB11.02 187876
01DM3AB11

เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

3. เตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ที่จะทำการสอบเทียบ

01DM3AB11.03 187877
01DM3AB11

เตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

4. บันทึกรายละเอียดของเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ที่จะทำการสอบเทียบและเครื่องมือมาตรฐานในแบบบันทึกผลตามที่ห้องปฏิบัติการกำหนด

01DM3AB11.04 187878
01DM3AB12

สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

1. รู้เกี่ยวกับเกณฑ์กำหนดของสภาวะแวดล้อมห้องปฏิบัติการสำหรับการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB12.01 187879
01DM3AB12

สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

2. สอบเทียบเครื่องมือวัดวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB12.02 187880
01DM3AB12

สอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

3. อ่านค่าเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ได้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB12.03 187881
01DM3AB13

บันทึกผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

1. บันทึกค่าที่อ่านได้จากเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB13.01 187882
01DM3AB13

บันทึกผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper

2. บันทึกค่าชี้บ่งจากการใช้เครื่องมือมาตรฐานตามคู่มือการปฏิบัติงาน

01DM3AB13.02 187883

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

 สามารถใช้งานและบำรุงรักษา เครื่องมือวัดสภาวะแวดล้อม เครื่องมือวัดทางสาขามิติ ประเภท Vernier caliper และเครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ ก่อนและหลังใช้งานได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ก. ความต้องการด้านทักษะ



 1. การเลือกใช้เครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ ประเภท Vernier caliper และการเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการใช้งาน



 2. การเตรียมความพร้อมเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper



 3. การอ่านค่าเครื่องมือวัด Vernier caliper



 4. การเลือกใช้อุปกรณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper



 5. การใช้เครื่องมือคำนวณ หรือโปรแกรมคำนวณผล

(ข) ความต้องการด้านความรู้

ข. ความต้องการด้านความรู้



 1. รู้และเข้าใจหลักการตามขั้นตอนการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper



 2. เข้าใจวิธีการใช้งานและการอ่านค่าของเครื่องมือวัดและเครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ รวมถึงการทำความสะอาด การจัดเก็บ และการเคลื่อนย้าย



 3. วิธีการประยุกต์ใช้เครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ ประเภท เกจบล็อก หรือ Caliper checker



 4. การบันทึก การใช้เครื่องมือคำนวณผล หรือโปรแกรมคำนวณผล



 5. การสอบกลับได้ (Traceability) ของเครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ



 6. ความรู้สถิติและคณิตศาสตร์เบื้องต้น


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

ก. หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



 1. บันทึกประวัติการทำงาน



 2. บันทึกการมอบหมายงาน



 3. ใบรายงานผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดVernier caliper



ข. หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



 1. ใบรับรองการฝึกอบรม หรือ บันทึกการฝึกปฏิบัติงาน (On the job training) โดยมีผู้ลงนามรับรอง



 2. บันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน



 3. บันทึกผลข้อสอบข้อเขียน



ค. คำแนะนำในการประเมิน



 ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนการสอบเทียบ การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาชามิติ ประเภท Vernier caliper และการบันทึกและคำนวณผลการสอบเทียบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้



ง. วิธีการประเมิน



1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน



2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน หรือ บันทึกสังเกตการณ์ปฏิบัติงานจริง ณ สถานที่ปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

 ก. คำแนะนำ



 1. เครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ประกอบด้วย Vernier caliper แบบขีดสเกล Vernier caliper แบบไดอัล Vernier caliper แบบดิจิตอล ความละเอียด 0.05 มม. 0.02 มม. และ 0.001 มม.



 2. การสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper โดยใช้เกจบล็อก หรือ caliper checker เป็นเครื่องมือมาตรฐาน



ข. คำอธิบายรายละเอียด



 1. วิธีการสอบเทียบเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท Vernier caliper ตามวิธีการที่ห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยอ้างอิงมาตรฐานแห่งชาติหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือมีการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีแล้วสามารถใช้งานได้



 2. เครื่องมือมาตรฐานสาขามิติ ในระดับนี้คือเครื่องมือวัดสาขามิติ ประเภท gauge block, caliper checker เป็นต้น



ค. เอกสารอ้างอิง



 มาตรฐานวิธีการสอบเทียบ ISO 13385-1:2019, JIS B 7507-2016, ข้อแนะนำวิธีการใช้งาน การดูแลรักษา และการสอบเทียบVernier caliper (Vernier caliper)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

 1. พิจารณาจากผลการสอบข้อเขียน



 2. พิจารณาจากบันทึกการสาธิตการปฏิบัติงาน หรือ บันทึกสังเกตการณ์ปฏิบัติงานจริง ณ สถานที่ปฏิบัติงาน



ยินดีต้อนรับ