หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

สาขาวิชาชีพธุรกิจบริการ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PET-JKDO-041B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 3211 เจ้าหน้าที่เทคนิคด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    บุคคลต้องมีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ อันได้แก่ การตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งส่งตรวจ การเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบได้อย่างครบถ้วน ถูกต้องตามประเภทการตรวจ การตรวจตัวอย่างตามกระบวนการในห้องปฏิบัติการ พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งส่งตรวจได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักเทคนิคการสัตวแพทย์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. มาตรฐานห้องปฏิบัติการทางการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2562

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10302.01 ตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา(HEMATOLOGY) ตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

1. อ่านใบสั่งตรวจและตรวจสอบความถูกต้องสิ่งส่งตรวจตามใบสั่งตรวจขอนายงสัตวแพทย์

10302.01.01 187398
10302.01 ตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา(HEMATOLOGY) ตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการตรวจ โลหิตวิทยา(HEMATOLOGY) ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน

10302.01.02 187399
10302.01 ตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา(HEMATOLOGY) ตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

3. ดำเนินการตรวจตัวอย่างสิ่งตรวจตามกระบวนการตรวจ โลหิตวิทยา (HEMATOLOGY)  ได้ถูกต้อง

10302.01.03 187400
10302.01 ตรวจวิเคราะห์ทางโลหิตวิทยา(HEMATOLOGY) ตามการสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

4. รายงานผลตรวจ โลหิตวิทยา(HEMATOLOGY)  ทางห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง

10302.01.04 187401
10302.02 ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY)

1. อ่านใบสั่งตรวจและตรวจสอบความถูกต้องสิ่งส่งตรวจตามใบสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

10302.02.01 187402
10302.02 ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY)

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY) ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน

10302.02.02 187403
10302.02 ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY)

3. ดำเนินการตรวจตัวอย่างสิ่งตรวจตามกระบวนการตรวจ ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY) ได้ถูกต้อง 

10302.02.03 187404
10302.02 ตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY)

4. รายงานผลตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกของเลือด( BLOOD CHEMISTRY) ทางห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง

10302.02.04 187405
10302.03 ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS )

1. อ่านใบสั่งตรวจและตรวจสอบความถูกต้องสิ่งส่งตรวจตามใบสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

10302.03.01 187406
10302.03 ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS )

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS )ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน 

10302.03.02 187407
10302.03 ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS )

3. ดำเนินการตรวจตัวอย่างสิ่งตรวจตามกระบวนการตรวจ ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS ) ได้ถูกต้อง 

10302.03.03 187408
10302.03 ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS )

4. รายงานผลตรวจ ตรวจวิเคราะห์ทางปัสสาวะ (URINALYSIS ) ทางห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง

10302.03.04 187409
10302.04 ตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY)

1. อ่านใบสั่งตรวจและตรวจสอบความถูกต้องสิ่งส่งตรวจตามใบสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

10302.04.01 187410
10302.04 ตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY)

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY) ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน 

10302.04.02 187411
10302.04 ตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY)

3. ดำเนินการตรวจตัวอย่างสิ่งตรวจตามกระบวนการตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY) ได้ถูกต้อง 

10302.04.03 187412
10302.04 ตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY)

4. รายงานผลตรวจวิเคราะห์ทางปรสิตวิทยา (PARASITOLOGY)ทางห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง

10302.04.04 187413
10302.05 ตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION)

1. อ่านใบสั่งตรวจและตรวจสอบความถูกต้องสิ่งส่งตรวจตามใบสั่งตรวจของนายสัตวแพทย์

10302.05.01 187414
10302.05 ตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION)

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบการตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION) ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน 

10302.05.02 187415
10302.05 ตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION)

3. ดำเนินการตรวจตัวอย่างสิ่งตรวจตามกระบวนการตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ (FECAL EXAMINATION) ได้ถูกต้อง 

10302.05.03 187416
10302.05 ตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION)

4. รายงานผลตรวจวิเคราะห์ทางอุจาระ( FECAL EXAMINATION)ทางห้องปฏิบัติการได้ถูกต้อง

10302.05.04 187417

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ทักษะการใช้เครื่องมือภายในห้องปฏิบัติการ

 ทักษะการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

 


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการใช้เครื่องมือภายในห้องปฏิบัติการ

2. ทักษะการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้ทางการทดสอบกระบวนการปฏิบัติทางห้อง

2. ความรู้การตรวจHEMATOLOGY

3. ความรู้การตรวจ BLOOD CHEMISTRY

4. ความรู้การตรวจ URINALYSIS

5. ความรู้การตรวจ FECAL EXAMINATION

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

  หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน(Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

         1.ใบบันทึกจากการสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน

         2.เอกสารรับรองผลงานและความรู้ความสามารถที่ผ่านมา (ถ้ามี)

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

         1.ผลการทดสอบความรู้

         2.เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง    

         3.วุฒิบัตร ประกาศนียบัตร หรือใบรับรองผลการศึกษา (ถ้ามี)

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

 ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง

    (ง) วิธีการประเมิน

    1.ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบทดสอบความรู้ และ/หรือเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

          2.แบบทดสอบปฏิบัติการ

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ค) คำแนะนำ 

    การทำงานสนับสนุนงานตามแผนการรักษาภายใต้การควบคุม กำกับ และดูแลของนายสัตวแพทย์

(ง)  คำอธิบายรายละเอียด

     1. สิ่งส่งตรวจ หมายถึง สิ่งทีนํามาทดลองทาง ห้องปฏิบัติการ ซึ่งมีมากมายหลาย ชนิด แต่ละชนิดจะมีวิธีเก็บและการ รักษาสภาพก่อนการตรวจ และจุดประสงค์ของการตรวจทีแตกต่างกัน 

    2. เตรียมอุปกรณ์ดำเนินการ หมายถึง การเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และสารเคมีที่ใช้ในการตรวจแต่ละกระบวนทางห้องปฏิบัติการตลอดจนการทำความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณ์

    3. กระบวนการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ คือ กระบวนการก่อนการตรวจวิเคราะห์ (Pre-analytical process )กระบวนการตรวจวิเคราะห์(Analytical process) กระบวนการหลังการตรวจวิเคราะห์(Post-analytical process)

    4. การตรวจ Hematology หมายถึง การตรวจทางโลหิตวิทยา

    5. การตรวจ BLOOD CHEMISTRY หมายถึง การตรวจสารเคมีในเลือด

    6. การตรวจ URINALYSIS หมายถึง การตรวจปัสสาวะ

    7. การตรวจ MICROBIOLOGY & PARASITOLOGY หมายถึง การตรวจ จุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา

    8. การตรวจ FECAL EXAMINATION หมายถึง การตรวจอุจจาระ

    9. การตรวจ URINALYSIS หมายถึง การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

   เจ้าหน้าที่สอบพิจารณาหลักฐานจากที่เป็นเอกสารรับรองผลงาน รับรองความรู้ความสามารถที่ผ่านมาก่อนหน้า หากไม่ชัดเจนหรือมีปริมาณเพียงพอให้เชื่อถือได้ ให้ประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่

               1) แบบทดข้อสอบข้อเขียน

               2) แบบทดสอบสาธิตการปฏิบัติการ

              3) การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค จากผลงานในของผู้รับการประเมิน (หากจำเป็น)

 



ยินดีต้อนรับ