หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ดิจิทัล

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-MPES-584A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ดิจิทัล

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานพิมพ์ดิจิทัล (Digital Printing Operator)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ดิจิทัล สามารถตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ โดยใช้เครื่องมือและโปรแกรมในการตรวจสอบคุณภาพ รวมทั้งการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาของงานพิมพ์ดิจิทัล

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
    ผู้ประกอบวิชาชีพ งานพิมพ์ดิจิทัล

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
30204.1

ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

1.1 ใช้เครื่องมือ/โปรแกรมในการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ได้

30204.1.01 184344
30204.1

ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

1.2 ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ (เช่น ฉากหน้าหลังตรงกัน ,ความเที่ยงตรงของสีในล็อตการผลิตเดียวกัน)1.2 ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ (เช่น ฉากหน้าหลังตรงกัน ,ความเที่ยงตรงของสีในล็อตการผลิตเดียวกัน)

30204.1.02 184345
30204.2

แก้ไขปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา

2.1 ระบุสาเหตุของปัญหางานพิมพ์ได้

30204.2.01 184346
30204.2

แก้ไขปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา

2.2 วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้

30204.2.02 184347
30204.2

แก้ไขปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา

2.3 ปรับ แก้ไข ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้

30204.2.03 184348

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

การตรวจสอบความถูกต้องของงานพิมพ์ การใช้อุปกรณ์วัดค่าสี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

     1. สามารถใช้เครื่องมือ/โปรแกรมในการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ได้

    2. สามารถตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

    3. สามารถระบุสาเหตุของปัญหางานพิมพ์ได้

    4. สามารถวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้

    5. สามารถปรับ แก้ไข ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

    1. การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์

    2. ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

    3. ระบุสาเหตุของปัญหางานพิมพ์

    4. วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์

    5. ปรับ แก้ไข ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

    ด้านความรู้

    ผลการสอบ

    ด้านทักษะ

    1.1 แบบบันทึกการสัมภาษณ์และคะแนนการสัมภาษณ์ (checklist การสัมภาษณ์)

    1.2 แบบบันทึกคะแนนการสาธิต แบบบันทึกคะแนนรายการตรวจสอบ (checklist)

    ด้านพฤติกรรม (จิตพิสัย)

    แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

    ผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (certificate) ใบผ่านการอบรม แฟ้มสะสมงาน (portfolio) ใบผ่านงาน และประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่นๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมยอมรับ

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

    N/A

     (ง) วิธีการประเมิน

    ด้านความรู้

    ข้อสอบปรนัย

    ด้านทักษะ

    1.1 สัมภาษณ์

    1.2 สาธิตการทำงาน

    ด้านพฤติกรรม (จิตพิสัย)

    สังเกตพฤติกรรม

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

    การประเมินสมรรถนะนี้ครอบคลุมขั้นตอนการปฏิบัติงาน การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์, ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์, ระบุสาเหตุของปัญหางานพิมพ์, วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ และ ปรับ แก้ไข ปัญหาคุณภาพงานพิมพ์ได้ โดยประเมินด้วยวิธีการ สัมภาษณ์ และ สาธิตการทำงาน โดยใช้เครื่องมือ และ อุปกรณ์ที่ระบุไว้ในเกณฑ์การปฏิบัติงาน 

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

    ควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ เช่น ความเที่ยงตรง, คุณภาพสี, ตรวจสอบและวิเคราะห์ปัญหา

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การประเมินด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านพฤติกรรมปรากฏในคู่มือการประเมินสมรรถนะบุคคล 



ยินดีต้อนรับ