หน่วยสมรรถนะ
ทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ
สาขาวิชาชีพการกีฬา
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | SPT-UOAV-258A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / 2566 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
กวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
เป็นผู้มีความรู้ในหลักการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่สัมพันธ์กับสุขภาพได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
นักวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10102.01 วัดองค์ประกอบร่างกายได้ (Body composition) | A.จัดเตรียมอุปกรณ์ การวัดองค์ประกอบร่างกายได้ | 182082 | |
10102.01 วัดองค์ประกอบร่างกายได้ (Body composition) | B.อธิบายวิธีการ การวัดองค์ประกอบร่างกายได้ | 182083 | |
10102.01 วัดองค์ประกอบร่างกายได้ (Body composition) | C.บันทึกค่าองค์ประกอบร่างกาย | 182084 | |
10102.02 ทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย (Flexibility) | A.จัดเตรียมอุปกรณ์ การทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย | 182085 | |
10102.02 ทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย (Flexibility) | B. อธิบายการทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย | 182086 | |
10102.02 ทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย (Flexibility) | C.บันทึกการทดสอบความยืดหยุ่นของร่างกาย | 182087 | |
10102.03 ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength) | A.จัดเตรียมอุปกรณ์ การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ | 182088 | |
10102.03 ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength) | B.อธิบายการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ | 182089 | |
10102.03 ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle Strength) | C.บันทึกการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ | 182090 | |
10102.04 ทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance) | A.จัดเตรียมอุปกรณ์ การทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ | 182091 | |
10102.04 ทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance) | B.อธิบายการทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ | 182092 | |
10102.04 ทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle Endurance) | C.บันทึกการทดสอบความอดทนของกล้ามเนื้อ | 182093 | |
10102.05 ทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ (Cardiorespiratory Endurance) | A.จัดเตรียมอุปกรณ์ การทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ | 182094 | |
10102.05 ทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ (Cardiorespiratory Endurance) | B.อธิบายการทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ | 182095 | |
10102.05 ทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ (Cardiorespiratory Endurance) | C.บันทึกการทดสอบความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ | 182096 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. มีทักษะในการ จัดเตรียมเอกสารและบันทึก การวัดองค์ประกอบร่างกาย ความอ่อนตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ ความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ 3. มีทักษะในการกำหนดสถานที่และและอุปกรณ์ที่ใช้ในการประเมินความพร้อมก่อนการออกกำลังกาย (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์วัดองค์ประกอบร่างกาย ความอ่อนตัว ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ความอดทนของกล้ามเนื้อ ความอดทนของระบบหัวใจและหายใจ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง(ก) คำแนะนำไม่มี(ข) คำอธิบายรายละเอียด1. การวัดองค์ประกอบร่างกาย (Body Composition) คือ การวัดหรือประเมินองค์ประกอบของร่างกาย เช่น ควาหนาของชั้นไขมันใต้ผิวหนัง (skinfold) %ไขมัน มวลไขมัน มวลกล้ามเนื้อ โดยการใช้เครื่องวัด เช่น caliper, BIA หรือ อื่นๆ 2. ความอ่อนตัว (flexibility) หมายถึงความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนไหวให้ได้ทุกมุมอย่างเต็มที่ มีความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นรอบๆ ข้อต่อ ทำให้เคลื่อนไหวคล่องตัวไม่มีอาการติดขัดการเคลื่อนไหวของข้อต่อที่สำคัญในชีวิตประจำวัน3. ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง คุณสมบัติที่บุคคลสามารถเพียรพยายามทำงานในกิจกรรมที่ต้องใช้กลุ่มกล้ามเนื้อกลุ่มเดียวกันเป็นระยะเวลานาน ๆ เช่น ดึงข้อ ดันพื้น ลุกนั่ง 4. ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงที่กล้ามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตัว 1 ครั้ง5. ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิงปฏิบัติของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลำเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้ร่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทำงานหรือออกกำลังกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่เป็นระยะเวลายาวนานได้ |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน |