หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินผลและวางแผนการปรับปรุงคุณภาพการผลิต

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-MDPH-455A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินผลและวางแผนการปรับปรุงคุณภาพการผลิต

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานพิมพ์ดิจิทัล (Digital Printing Operator)


1 7322 ช่างพิมพ์

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้จะเกี่ยวข้องกับทักษะ,ความรู้ที่จำเป็นในการนำเสนอข้อมูลประกอบการตัดสินใจให้กับผู้บริหารและความรู้ที่จำเป็นในการพัฒนาคุณภาพการผลิต

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพ งานพิมพ์ดิจิทัล

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
30209.1

นำเสนอข้อมูลประกอบการตัดสินใจให้กับผู้บริหาร

จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต

30209.1.01 181650
30209.1

นำเสนอข้อมูลประกอบการตัดสินใจให้กับผู้บริหาร

ให้ข้อเสนอแนะกับผู้บริหาร

30209.1.02 181651
30209.2

การพัฒนาคุณภาพการผลิต

ตรวจสอบ และวิเคราะห์กระบวนการทำงาน

30209.2.01 181652
30209.2

การพัฒนาคุณภาพการผลิต

พัฒนาการทำงานให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

30209.2.02 181653
30209.2

การพัฒนาคุณภาพการผลิต

ประเมินผลความคืบหน้าของการผลิตงานพิมพ์

30209.2.03 181654

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. การจัดทำรายงานประสิทธิภาพการผลิต

  2. การจัดทำเอกสารเสนอแนะเกี่ยวกับการผลิต

  3. การตรวจสอบ และผลบันทึกการวิเคราะห์กระบวนการทำงาน

  4. ใบรายงานผล/สรุปการประเมินความก้าวหน้าในกระบวนการผลิต

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. ประสิทธิภาพ และกำลังการผลิต

  2. ขั้นตอนการผลิตงานพิมพ์

  3. การวิเคราะห์กระบวนการทำงาน

  4. การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการผลิต

  5. สถิติ และเครื่องมือในการประเมินผล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



          ด้านความรู้



          ผลการสอบ



          ด้านทักษะ



          แบบบันทึกการสัมภาษณ์และคะแนนการสัมภาษณ์ (checklist การสัมภาษณ์)



          ด้านพฤติกรรม (จิตพิสัย)



          แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรม



          (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



          ผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (certificate) ใบผ่านการอบรม แฟ้มสะสมงาน (portfolio) ใบผ่านงาน และประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่นๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมยอมรับ



         



 


 



          (ค) คำแนะนำในการประเมิน



          การประเมินหลักฐานด้านทักษะและความรู้ ผู้ประเมินจะต้องมีประสบการณ์ด้านหน่วยสมรรถนะนี้อย่างน้อย 3 ปี สามารถวิเคราะห์กระบวนการทำงาน  การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการผลิต ใบสรุปผลการประเมินความก้าวหน้าในกระบวนการผลิต มีการกำหนดสถานการจำลองที่เหมาะสม และสถานที่ทำการประเมินต้องN/Aสภาวะรบกวนการประเมิน



           (ง) วิธีการประเมิน



          ด้านความรู้



          ข้อสอบปรนัย



          ด้านทักษะ



          สัมภาษณ์



          ด้านพฤติกรรม (จิตพิสัย)



            สังเกตพฤติกรรม


15. ขอบเขต (Range Statement)

  1. การดูแลบุคลากร ได้แก่ การกำหนดค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่พนักงาน

  2. การวางแผนบุคลากร เช่น การกำหนดตัวบุคคลในการปฏิบัติงาน การนำแนวทางมาใช้

  3. การพัฒนาบุคลากร เช่น การฝึกอบรม การส่งเสริมการศึกษาต่อ การดูงาน

  4. การทำงานเป็นทีม คือ การประสานการทำงานของบุคคลในแผนกต่าง ๆ

  5. แนวทาง เช่น กิจกรรม 5ส Kaizen Kanban



          (ก) คำแนะนำ



N/A



          (ข) คำอธิบายรายละเอียด



              N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

การประเมินด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านพฤติกรรมปรากฏในคู่มือการประเมินสมรรถนะบุคคล



ยินดีต้อนรับ