หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ช่วยวัดสัญญาณชีพ น้ำหนัก และส่วนสูงในผู้ป่วยที่มีอาการคงที่และไม่มีภาวะเสี่ยง โดยใช้ระบบดิจิตอล

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-CFVL-538A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ช่วยวัดสัญญาณชีพ น้ำหนัก และส่วนสูงในผู้ป่วยที่มีอาการคงที่และไม่มีภาวะเสี่ยง โดยใช้ระบบดิจิตอล

3. ทบทวนครั้งที่ 3 / 2566

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

    5321 พนักงานให้การดูแล (Nurses’ aides/ Care givers)

    5321 ผู้ช่วยเหลือคนไข้

    5321 เจ้าหน้าที่ช่วยดูแลผู้ป่วย

    5321 เจ้าหน้าที่ผู้ช่วยพยาบาลในโรงพยาบาลคลินิก หรือบ้านพักคนชรา

    5321 ผู้ช่วยงานดูแลสุขภาพ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย อัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต โดยใช้ระบบดิจิตอล ช่วยวัดอัตราการหายใจ ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงในผู้ป่วยที่มีอาการคงที่และไม่มีภาวะเสี่ยง ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
พนักงานให้การดูแล (Nurses’ aides/ Care givers)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10302.01

ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย โดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

1. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดอุณหภูมิร่างกายโดยใช้ระบบดิจิตอล

10302.01.01 180127
10302.01

ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย โดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอุณภูมิโดยใช้ระบบดิจิตอล
ได้อย่างถูกต้อง

10302.01.02 180128
10302.01

ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย โดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

3. วัดอุณหภูมิของผู้ป่วยโดยใช้ระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้อง

10302.01.03 180129
10302.01

ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย โดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

4. บันทึกผลการวัดได้อย่างถูกต้อง

10302.01.04 180130
10302.01

ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกาย โดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

5. รายงานผลการวัดให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้อย่างถูกต้อง

10302.01.05 180131
10302.02

ช่วยวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอลภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

1. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอล

10302.02.01 180132
10302.02

ช่วยวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอลภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอล ได้อย่างถูกต้อง

10302.02.02 180133
10302.02

ช่วยวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอลภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

3. วัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอล ได้อย่างถูกต้อง

10302.02.03 180134
10302.02

ช่วยวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอลภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

4. บันทึกผลการวัดได้อย่างถูกต้อง

10302.02.04 180135
10302.02

ช่วยวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอลภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

5. รายงานผลการวัดให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้อย่างถูกต้อง

10302.02.05 180136
10302.03

ช่วยวัดอัตราการหายใจภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

1. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดอัตราการหายใจ

10302.03.01 180137
10302.03

ช่วยวัดอัตราการหายใจภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

2. เตรียมนาฬิกาที่มีเข็มวินาที/เครื่องจับเวลา เพื่อใช้ในการนับอัตราการหายใจ

10302.03.02 180138
10302.03

ช่วยวัดอัตราการหายใจภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

3. ช่วยนับอัตราการหายใจ ได้อย่างถูกต้อง

10302.03.03 180139
10302.03

ช่วยวัดอัตราการหายใจภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

4. บันทึกผลการวัดได้อย่าง

10302.03.04 180140
10302.03

ช่วยวัดอัตราการหายใจภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

5. รายงานผลการวัดให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้อย่างถูกต้อง

10302.03.05 180141
10302.04

ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

1. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล

10302.04.01 180142
10302.04

ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

2. เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล

10302.04.02 180143
10302.04

ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

3. ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล

10302.04.03 180144
10302.04

ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

4. บันทึกผลการวัดได้อย่างถูกต้อง

10302.04.04 180145
10302.04

ช่วยวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

5. รายงานผลการวัดให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้อย่างถูกต้อง

10302.04.05 180146
10302.05

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

1. มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

10302.05.01 180147
10302.05

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

2. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงได้เหมาะสมกับวัยของผู้ป่วย

10302.05.02 180148
10302.05

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

3. ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง

10302.05.03 180149
10302.05

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

4. บันทึกผลการวัดได้อย่างถูกต้อง

10302.05.04 180150
10302.05

ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

5. รายงานผลการวัดให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้อย่างถูกต้อง

10302.05.05 180151

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    เตรียมอุปกรณ์วัดอุณหภูมิโดยใช้ระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้อง

2.    ปฏิบัติขั้นตอนการวัดอุณหภูมิ โดยใช้ระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้อง

3.    บันทึกอุณหภูมิในใบบันทึกรายงานได้ถูกต้อง

4.    เตรียมอุปกรณ์ในการวัดอัตราการหายใจได้อย่างถูกต้อง

5.    ปฏิบัติการวัดอัตราการหายใจได้ถูกต้อง ตามขั้นตอน

6.    บันทึกผลการวัดอัตราการหายใจในใบบันทึกรายงานได้ถูกต้อง

7.    เตรียมอุปกรณ์ในการวัดความดันโลหิต ชีพจร โดยใช้ระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้อง

8.    ปฏิบัติการวัดความดันโลหิต ชีพจร โดยใช้ระบบดิจิตอลได้ถูกต้อง ตามขั้นตอน

9.    บันทึกผลการวัดความดันโลหิต ชีพจร ในใบรายงานได้อย่างถูกต้อง

10.    เตรียมอุปกรณ์ในการชั่งน้ำหนักและส่วนสูงได้อย่างถูกต้องตามหลักการ

11.    ปฏิบัติการชั่งน้ำหนักและส่วนสูงได้อย่างถูกต้อง ตามขั้นตอน

12.    บันทึกผลการชั่งน้ำหนักและส่วนสูงได้อย่างถูกต้อง

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    วัตถุประสงค์ในการวัดอุณหภูมิร่างกายโดยใช้ระบบดิจิตอล

2.    หลักการวัดอุณหภูมิร่างกายโดยใช้ระบบดิจิตอล

3.    ค่าอุณหภูมิปกติ

4.    อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิ โดยระบบดิจิตอล

5.    การทำความสะอาดอุปกรณ์ในการวัดอุณหภูมิ โดยใช้ระบบดิจิตอล

6.    วิธีการวัดอุณหภูมิทางปาก ทางรักแร้ และทางทวารหนัก โดยใช้ระบบดิจิตอล

7.    อ่านผลการวัดอุณหภูมิโดยใช้ระบบดิจิตอลได้อย่างถูกต้อง

8.    การบันทึกผลการวัดอุณหภูมิโดยใช้ระบบดิจิตอลได้

9.    การรายงานผลการวัดอุณหภูมิโดยใช้ระบบดิจิตอลให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้

10.    วัตถุประสงค์ในการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอล

11.    หลักการวัดอัตราการเต้นของหัวใจโดยใช้ระบบดิจิตอล

12.    ค่าปกติของอัตราการเต้นของหัวใจ

13.    อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอล

14.    วิธีการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอล

15.    การอ่านผลการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอลได้

16.    การบันทึกผลการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอลได้

17.    การรายงานผลการวัดอัตราการเต้นของหัวใจ โดยใช้ระบบดิจิตอลได้

18.    ความหมายของการหายใจ

19.    วัตถุประสงค์ของการวัดอัตราการหายใจ

20.    ค่าปกติของอัตราการหายใจ

21.    เตรียมนาฬิกาที่มีเข็มวินาที/เครื่องจับเวลา เพื่อใช้ในการนับอัตราการหายใจ

22.    วิธีการนับอัตราการหายใจ

23.    การบันทึกผลการหายใจในใบรายงานประจำตัวผู้ป่วย

24.    ความหมายของความดันโลหิต

25.    ค่าปกติของความดันโลหิต

26.    วัตถุประสงค์ในการวัดความดันโลหิต โดยใช้ระบบดิจิตอล

27.    หลักการวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอล

28.    เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดความดันโลหิตโดยใช้ระบบดิจิตอลได้

29.    วิธีการวัดความดันโลหิต โดยใช้ระบบดิจิตอล

30.    การอ่านค่าความดันโลหิต โดยใช้ระบบดิจิตอลได้

31.    การบันทึกผลการวัดความดันโลหิตได้

32.    การรายงานผลการวัดความดันโลหิตให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้

33.    วัตถุประสงค์ของการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง

34.    เตรียมอุปกรณ์การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงได้เหมาะสมกับวัยของผู้ป่วย

35.    ขั้นตอนการชั่งน้ำหนักผู้ป่วย

36.    ขั้นตอนการวัดส่วนสูง

37.    บันทึกผลการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงได้

38.    รายงานผลการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงให้พยาบาลวิชาชีพทราบได้


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับ

    เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

    (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

        1. เอกสาร/หลักฐานรับรองการทำงาน

        2. เอกสาร/หลักฐานการอบรมเชิงปฏิบัติการ

        3. แฟ้มสะสมผลงาน และ/หรือ

        4. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

        1. ผลการทดสอบความรู้

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน    

        ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง

    (ง) วิธีการประเมิน

        1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานจริงที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบบันทึกรายการจากการสังเกตและเอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ

        2. ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบทดสอบความรู้ข้อเขียน


15. ขอบเขต (Range Statement)

    การปฏิบัติงานภายในขอบเขตดังนี้

    ช่วยวัดอุณหภูมิร่างกายโดยวัดทางปาก รักแร้ ทวารหนักโดยใช้ระบบดิจิตอล ภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

    (ก) คำแนะนำ

        ปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล

    (ข) คำอธิบายรายละเอียด

        1. สัญญาณชีพ หมายถึง หมายถึงการวัด ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ และอุณหภูมิ ซึ่งมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เป็นสิ่งบ่งชี้ภาวะสุขภาพของบุคคล การวัดสัญญาณชีพใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการตัดสินสภาวะสุขภาพของผู้ป่วย การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพสามารถบ่งบอกถึงการเปลี่ยนแปลงในการทำหน้าที่ของร่างกายได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมินโดยประเมินด้วยการทดสอบความรู้และทักษะการปฏิบัติงาน



ยินดีต้อนรับ