หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

อบรมงานบริการสปาทรีทเม้นท์แก่ สปาเทอราปิ้ส

สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HDS-QPWA-132B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ อบรมงานบริการสปาทรีทเม้นท์แก่ สปาเทอราปิ้ส

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">อาชีพสปาเทรนเนอร์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะเฉพาะนี้ เป็นหน่วยวัดความรู้ ทักษะและผลลัพธ์การประยุกต์ใช้ของอาชีพสปาเทรนเนอร์ ระดับ 5 โดยต้องมีความรู้ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยสมรรถนะย่อยกำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรมสปาเทอราปิ้ส อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์แก่ สปาเทอราปิ้ส ตามสมรรถนะมาตรฐานอาชีพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กิจกรรมบริการเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย (ยกเว้นกิจกรรมด้านกีฬา)สาขาให้บริการสปา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่มี

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่มี

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10304-01 กำหนดหลักสูตรอบรม สปาเทอราปิ้ส 1.1 กำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้สให้ถูกต้องตามหลักการที่ผ่านการอบรมและเป็นไปตามตัวชี้วัดของสถานประกอบการ 10304-01.01 132093
10304-01 กำหนดหลักสูตรอบรม สปาเทอราปิ้ส 1.2 ทดสอบหลักสูตรฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส โดยจัดเตรียมเอกสารให้มีจำนวนเพียงพอต่อผู้เข้ารับการอบรมมีเนื้อหาครบถ้วน ชัดเจนและสอดคล้องกับเป้าประสงค์ของสถานประกอบการ 10304-01.02 132094
10304-02 วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรม สปาเทอราปิ้ส 1.1 กำหนดแนวทางการอบรม สปาเทอราปิ้สอย่างถูกต้องตามหลักการที่ผ่านการอบรมอย่างละเอียดรอบคอบ 10304-02.01 132095
10304-02 วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรม สปาเทอราปิ้ส 1.2 จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และผลิตภัณฑ์สำหรับการอบรมสปาเทอราปิ้สให้มีจำนวนเพียงพอต่อผู้เข้ารับการอบรมอย่างเรียบร้อย ครบถ้วน 10304-02.02 132096
10304-02 วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรม สปาเทอราปิ้ส 1.3 จัดทำเอกสารประกอบการอบรม สปาเทอราปิ้ส ให้มีจำนวนเพียงพอต่อผู้เข้ารับการอบรมเนื้อหาครบถ้วน ชัดเจน เข้าใจง่าย 10304-02.03 132097
10304-03 อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์ แก่ สปาเทอราปิ้สตาม สมรรถนะมาตรฐานอาชีพ 1.1 อบรมการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์อย่างถูกต้องตามหลักการที่ผ่านการอบรมเพื่อให้สามารถนำความรู้ทักษะ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง 10304-03.01 132098
10304-03 อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์ แก่ สปาเทอราปิ้สตาม สมรรถนะมาตรฐานอาชีพ 1.2 อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ในการให้บริการทรีทเม้นท์อย่างถูกต้องตามหลักการที่ผ่านการอบรมเพื่อให้สามารถนำความรู้ทักษะ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง 10304-03.02 132099
10304-03 อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์ แก่ สปาเทอราปิ้สตาม สมรรถนะมาตรฐานอาชีพ 1.3 อบรมการทําทรีทเม้นท์อย่างถูกต้องตามหลักการที่ผ่านการอบรมเพื่อให้สามารถนำความรู้ทักษะ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง 10304-03.03 132100

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น ตามหน่วยสมรรถนะ ดังนี้
(1) วัดระดับความรู้ และทักษะความชำนาญ ของ สปาเทอราปิ้ส และ สปาแอดเทนเดน รายบุคคลในสปา (รหัสหน่วยสมรรถนะ 10301)
(2) อบรมการให้บริการภายใต้เอกลักษณ์ไทย (รหัสหน่วยสมรรถนะ 10302)
(3) อบรมพนักงาน สปาแอดเทนเดน ตามสมรรถนะมาตรฐานอาชีพ (รหัสหน่วยสมรรถนะ 10303)


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

(1) กำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความสามารถในการกำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความสามารถในการทดสอบหลักสูตรฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
(2) วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความสามารถในการกำหนดแนวทางการอบรมตามหลักการ เทคนิค และกระบวนการอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความสามารถในการจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และผลิตภัณฑ์สำหรับการอบรมตามหลักสูตรอบรม
สปาเทอราปิ้ส
- ความสามารถในการจัดทำเอกสารประกอบการอบรม สปาเทอราปิ้ส
(3) อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์ แก่ สปาเทอราปิ้ส ตามสมรรถนะมาตรฐานอาชีพ
- ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์
- ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ในการให้บริการทรีทเม้นท์
- ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การทําทรีทเม้นท์

(ข) ความต้องการด้านความรู้

(1) กำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความรู้ในการกำหนดหลักสูตรการฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความรู้ในการทดสอบหลักสูตรฝึกอบรม สปาเทอราปิ้ส
(2) วางแผน จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความรู้ในการกำหนดแนวทางการอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความรู้ในงานบริการสปา เพื่อจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และผลิตภัณฑ์สำหรับการอบรม สปาเทอราปิ้ส
- ความรู้ในการจัดทำเอกสารประกอบการอบรม สปาเทอราปิ้ส
(3) อบรมวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์และการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์ แก่ สปาเทอราปิ้ส ตามสมรรถนะมาตรฐานอาชีพ
- ความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมห้องทรีทเม้นท์
- ความรู้เกี่ยวกับการใช้วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภัณฑ์ในการให้บริการทรีทเม้นท์
- ความรู้เกี่ยวกับการทําทรีทเม้นท์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
• เอกสารรับรองความรู้ เช่น ใบวุฒิบัตร ใบประกาศนียบัตรต่างๆ หรือแบบรายงานผลความรู้
• แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning book)
(ข) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
• เอกสารงานที่ปฏิบัติ เช่น เอกสารแนวทางการจัดอบรม หลักสูตรการการอบรม ตารางการอบรม กำหนดการอบรม เอกสารประกอบการสอนหรือสื่อการสอนต่างๆ
• เอกสารรับรองการทำงาน เช่น หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการ แบบประเมินงานจากหัวหน้างาน
• แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกงานประจำวัน (Log book)
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
• สภาพการประเมิน (Assessment Condition) เอกสารยืนยันสถานที่ปฏิบัติงานจริง หรือสถานที่ฝึกงานประกอบด้วยห้องปฏิบัติงาน เครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ แบบบันทึกข้อมูลต่างๆ แบบรายงานผล
• หลักฐานความรู้ที่ต้องการ เช่น โดยการสอบภาคทฤษฎี โดยใช้แบบข้อสอบ ทั้งปรนัยและอัตนัย หรือ การสัมภาษณ์ เอกสารรับรองความรู้ เช่น ใบวุฒิบัตร ใบประกาศนียบัตรต่างๆ หรือแบบรายงานผลความรู้ แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book)
• หลักฐานการปฏิบัติที่ต้องการ เช่น โดยการทดสอบภาคปฏิบัติ สังเกตหรือสัมภาษณ์การปฏิบัติงานประจำวัน ซึ่งมีเครื่องมือคือแบบบันทึกการสัมภาษณ์ หรือ แบบสังเกตการปฏิบัติงาน หรือ แบบแสดงทักษะการปฏิบัติงาน ประเมินโดยหัวหน้างาน หรือผู้ประเมินที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการ หรือเอกสารรับรองทักษะ ได้แก่ เอกสารงานที่ปฏิบัติ เช่น แผนงานการให้บริการสปา แผนดำเนินงานในการดูและรักษาความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ เอกสารรับรองการทำงาน เช่น หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการ แบบประเมินงานจากหัวหน้างาน แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)
(ง) วิธีการประเมิน
ประเมินโดย
• ประเมินความรู้ โดยใช้
- ข้อสอบข้อเขียน และ/หรือ แบบประเมินความรู้
- ข้อสอบสัมภาษณ์ และ/หรือแบบบันทึกการสัมภาษณ์ เพื่อวัดความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
• ประเมินทักษะ โดยใช้แบบบันทึกการสัมภาษณ์ หรือ แบบสังเกตการปฏิบัติงาน หรือ แบบแสดงทักษะการปฏิบัติงาน ประเมินโดยหัวหน้างาน หรือผู้ประเมินที่ได้รับมอบหมายจากสถานประกอบการ
• ประเมินผลลัพธ์การประยุกต์ใช้ ตามที่พึงมีในเกณฑ์การปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่องมือ แบบสังเกตคุณสมบัติที่พึงประสงค์และ/หรือแบบบันทึกการสัมภาษณ์
• พิจารณาหลักฐาน ประกอบด้วย หลักฐานความรู้ ได้แก่ เอกสารรับรองความรู้ เช่น ใบวุฒิบัตร ใบประกาศนียบัตรต่างๆ หรือแบบรายงานผลความรู้ แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book) และหลักฐานทักษะ ได้แก่ เอกสารงานที่ปฏิบัติ หรือ เอกสารรับรองทักษะ เช่น แผนงานการให้บริการสปาไทย แผนดำเนินงานในการดูและรักษาความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ เอกสารรับรองการทำงาน เช่น หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการ แบบประเมินงานจากหัวหน้างาน แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)


15. ขอบเขต (Range Statement)
"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">ไม่มี

16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 ประเมินความรู้ เพื่อวัดความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ โดยใช้
(1) ข้อสอบข้อเขียน หรือ แบบประเมินความรู้
(2) ข้อสอบสัมภาษณ์ หรือ แบบบันทึกการสัมภาษณ์
18.2 ประเมินทักษะ เพื่อวัดทักษะ ความสามารถ ความชำนาญ โดยใช้แบบประเมินต่างๆ อาทิ แบบบันทึกการสัมภาษณ์ แบบสังเกตการปฏิบัติงาน แบบแสดงทักษะการปฏิบัติงาน
18.3 ประเมินผลลัพธ์การประยุกต์ใช้ ตามที่พึงมีในเกณฑ์การปฏิบัติงาน โดยใช้ แบบสังเกตคุณสมบัติที่พึงประสงค์และ/หรือแบบบันทึกการสัมภาษณ์
18.4 พิจารณาหลักฐาน ประกอบด้วย
(1) หลักฐานความรู้ ได้แก่
(1.1) เอกสารรับรองความรู้ เช่น ใบวุฒิบัตร ใบประกาศนียบัตรต่างๆ หรือแบบรายงานผลความรู้
(1.2) แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book)
(2) หลักฐานทักษะ ได้แก่
(2.1) เอกสารงานที่ปฏิบัติ เช่น เอกสารแนวทางการจัดอบรม หลักสูตรการการอบรม ตารางการอบรม กำหนดการอบรม เอกสารประกอบการสอนหรือสื่อการสอนต่างๆ
(2.2) เอกสารรับรองการทำงาน เช่น หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการ แบบประเมินงานจากหัวหน้างาน
(2.3) แฟ้มสะสมงาน เช่น ภาพถ่าย สมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)



ยินดีต้อนรับ