หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

คัดกรองเนื้อหาที่ถูกต้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายก่อนเผยแพร่

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-TEIH-520A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ คัดกรองเนื้อหาที่ถูกต้องเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายก่อนเผยแพร่

3. ทบทวนครั้งที่ - / 2565

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ให้คำแนะนำด้านอาหารและโภชนาการ (Food and Nutrition Coach/Advisor)


1 2265 ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและนักโภชนาการ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          เป็นผู้มีความรู้และทักษะในการคัดกรองเนื้อหาด้านอาหารและโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ ได้แก่ การศึกษาและรวบรวมข้อมูล การประเมินและวิเคราะห์ข้อมูล ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ให้คำแนะนำด้านอาหารและโภชนาการ (Food and Nutrition Coach/Advisor)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
0210101

ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาด้านโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ (Situation analysis)

1) ศึกษาข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

0210101.01 178799
0210101

ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาด้านโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ (Situation analysis)

2) รวบรวมข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ

0210101.02 178800
0210102

ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลที่นำมาสื่อสาร (Problem analysis and audience research)

1) ประเมินข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการที่นำมาสื่อสารได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

0210102.01 178801
0210102

ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลที่นำมาสื่อสาร (Problem analysis and audience research)

2) วิเคราะห์ข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการที่นำมาสื่อสารได้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

0210102.02 178802

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่มี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  •     มีทักษะการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งข้อมูลอื่น ๆ 

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  • ความรู้ทางด้านโภชนาการเบื้องต้น


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

          หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required skills and knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน ( Performance Evidence )




  • เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือประวัติการทำงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




  • ผลทดสอบความรู้จากการสอบข้อเขียนและการสัมภาษณ์ (วิเคราะห์กรณีศึกษา)



(ค) คำแนะนำในการประเมิน




  • ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในทุกสมรรถนะย่อย 



(ง) วิธีการประเมิน    




  • ผู้ประเมินดำเนินการประเมินความรู้และทักษะของผู้เข้ารับการประเมินโดยใช้แบบทดสอบอัตนัยและการสอบสัมภาษณ์ (วิเคราะห์กรณีศึกษา) โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ 


15. ขอบเขต (Range Statement)

          ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาด้านโภชนาการสำหรับการเผยแพร่ (Situation analysis) ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลที่นำมาสื่อสาร (Problem analysis and audience research) ตามหลักวิชาการและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

(ก) คำแนะนำ            




  • ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถคัดกรองเนื้อหาทางด้านโภชนาการเพื่อการส่งเสริมสุขภาพหรือป้องกันโรค เช่น ข้อปฏิบัติการกินอาหาร เพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย (Food-based dietary guidelines) โดยสำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น 

  • หน่วยสมรรถนะนี้ไม่สามารถให้คำแนะนำเชิงลึกด้านโภชนบำบัดหรือให้คำแนะสำหรับผู้ป่วยทางด้านโภชนาการได้



(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  • โภชนบำบัด คือ การวางแผนเมนูอาหาร หรือ การจัดอาหารให้ผู้ป่วย


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน (ศึกษาและรวบรวมเนื้อหาด้านโภชนาการสำหรับการเผยแพร่) 




  1. แบบทดสอบข้อเขียน และแบบประเมินการสัมภาษณ์ (การวิเคราะห์กรณีศึกษา)

  2. เครื่องคิดเลข



18.2 เครื่องมือประเมิน (ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลที่นำมาสื่อสาร)




  1. แบบทดสอบข้อเขียน (การวิเคราะห์กรณีศึกษา)

  2. เครื่องคิดเลข



            ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ