หน่วยสมรรถนะ
ตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนตัวเรือ
สาขาวิชาชีพการเดินเรือ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | MRT-FXRD-158A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนตัวเรือ |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพช่างต่อเรือยอร์ช ISCO-08 2144 วิศวกรเรือ 3115 เจ้าหน้าที่/ช่างเทคนิควิศวกรรมการต่อเรือ 3115 เจ้าหน้าที่/ช่างเทคนิควิศวกรรมอุปกรณ์เรือ 7214 ช่างประกอบโครงสร้างโลหะของเรือ 7214 ช่างทำและติดตั้งโครงเหล็กตัวเรือ 7214 ช่างต่อเรือโลหะ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีความรู้และปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม การตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนย่อย การตรวจวัด Alignment การประกอบตัวเรือ การตรวจวัด Dimension การประกอบตัวเรือ และการตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้างการประกอบตัวเรือและเครื่องประกอบเรือ โดยวิธีไม่ทำลาย (Non-destructive Testing) |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ช่างต่อเรือยอร์ช |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
10.1 กฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่37) พ.ศ. 255310.2 ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสำคัญรับรองการตรวจเรือ เพื่ออนุญาตให้ใช้เรือและใบสำคัญแสดงการตรวจเรือเพื่อจดทะเบียนเรือไทย สำหรับเรือเดินทะเลเฉพาะเขตและเดินชายแดน พ.ศ. 256110.3 International Association of Classification Societies: IACS: No.47 Shipbuilding and Repair Quality Standard (Rev.5, Oct. 2010)10.4 Classification Society: Lloyd’s Register, Rules, and Regulations for the Classification of Ships10.5 International Organization for Standardization: ISO: 12215 Small craft — Hull construction and scantling10.6 International Convention for the Safety of Life at Sea: SOLAS 10.7 International Convention for the Prevention of Pollution from Ships: MARPOL10.8 German VG 81 204 – Normen,Freimasstoleranzen fuer Schiffe aus Metall, 197610.9 Japanese Shipbuilding Quality Standard(J.S.Q.S),Hull Part,198510.10 Germanicher Lloyd, Comparison of No.47 Shipbuilding and Repair Quality Standard (1996) (Rev. 1, 1999) (Rev.2, Dec. 2004) with Japan Shipbuilding Quality Standard (JSQS, 1004, Appendix 0144) and Production Standard of the German Shipbuilding Industry |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
YB.2.4.1 ตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม ตามแบบ |
ตรวจสอบตามแบบหรือตามรายการตรวจสอบ |
YB.2.4.1.01 | 178496 |
YB.2.4.1 ตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม ตามแบบ |
ตรวจสอบความเรียบร้อยโดยการตรวจพินิจด้วยสายตา |
YB.2.4.1.02 | 178497 |
YB.2.4.2 ตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนย่อย |
ตรวจสอบตามแบบหรือตามรายการตรวจสอบ |
YB.2.4.2.01 | 178498 |
YB.2.4.2 ตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนย่อย |
ตรวจสอบความเรียบร้อยโดยการตรวจพินิจด้วยสายตา |
YB.2.4.2.02 | 178499 |
YB.2.4.3 ตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ |
ตรวจวัด
Alignment การประกอบตัวเรือตามแบบ |
YB.2.4.3.01 | 178500 |
YB.2.4.3 ตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ |
ตรวจวัด
dimension การประกอบตัวเรือตามแบบ |
YB.2.4.3.02 | 178501 |
YB.2.4.3 ตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ |
ตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้างการประกอบตัวเรือและเครื่องประกอบเรือ
โดยวิธีไม่ทำลาย (Non-destructive Testing) |
YB.2.4.3.03 | 178502 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ทักษะในการทำงานด้านเทคนิค (Technical Skills) 1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงาน 2 ทักษะในการอ่านแบบต่อเรือ 3. ทักษะในการอ่านและใช้ภาษาเชิงวิศวกรรมศาสตร์หรือเชิงเทคนิค 4. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน 5. ทักษะในการวิเคราะห์ใช้ตรรกะและเหตุผล ทักษะในการทำงาน (Soft Skills) 1. ทักษะการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (Team working) (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้ในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ 2. ความรู้ในการควบคุมคุณภาพในการต่อเรือ 3. ความรู้ในการประกอบตัวเรือ 4. ความรู้ในการตรวจสอบชิ้นงานทั้งในส่วนของโครงสร้างตัวเรือและเครื่องประกอบเรือ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการในหน่วยสมรรถนะนี้จะใช้ในการพิจารณาประกอบร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) ซึ่งหลักฐานที่ต้องการ สามารถใช้ทดแทนความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นได้ โดยเจ้าหน้าที่สอบจะพิจารณารายละเอียดตามความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นๆ และยกเว้นการสอบใน หน่วยสมรรถนะนั้นได้ (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 2. แบบรวมรวม/แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การปฏิบัติงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. หลักฐานการศึกษาที่เกี่ยวข้องที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมายืนยันตัวเองตามหน่วยสมรรถนะ 2. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง
(ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้เข้ารับการประเมินสามารถนำหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้มาประกอบในการประเมิน (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาหลักฐานความรู้ ที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมาแสดง เช่น ใบรับรองฯ 2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน แสดงหลักฐานการผ่านการอบรม/ใบรับรองจากสถานประกอบการ (ถ้ามี) 3. พิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การปฏิบัติงาน ร่วมกับการสอบสัมภาษณ์ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ผู้เข้ารับการประเมินควรมีความรู้พื้นฐานหรือเข้าร่วมปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม การตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนย่อย และการตรวจวัดค่า Parameter และความแข็งแรงของเรือ (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. การตรวจสอบการประกอบชิ้นส่วนตัวเรือโลหะ ซึ่งประกอบด้วย โครงสร้างตัวเรือ โครงสร้างดาดฟ้า โครงสร้างเก๋งเรือ โครงสร้างฐานแท่น โดยตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม และงานประกอบ 2. การตรวจวัด alignment และ dimension 3. การตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร้างการประกอบตัวเรือและเครื่องประกอบเรือ โดยวิธีไม่ทำลาย (Non-destructive Testing) |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจการตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม ตัวเรือ (1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม ตัวเรือ (2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับการตรวจสอบงานดัด ตัด เชื่อม ตัวเรือ 18.2 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจการประกอบชิ้นส่วนย่อยของเรือ (1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของเรือ (2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับการประกอบชิ้นส่วนย่อยของเรือ 18.3 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจการตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ (1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ (2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับการตรวจวัดค่า parameter และความแข็งแรงของเรือ |