หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ติดตั้งระบบไฟฟ้าในเรือ

สาขาวิชาชีพการเดินเรือ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MRT-VDTE-161A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ติดตั้งระบบไฟฟ้าในเรือ

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพช่างต่อเรือยอร์ช



ISCO-08        



2143 วิศวกรไฟฟ้า



2145  วิศกรเครื่องกล (เครื่องกลเรือ)



3113 ช่างเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า



7137 ช่างไฟฟ้าประจำเรือ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีความรู้และปฏิบัติงานด้านด้านการอ่านแบบไฟฟ้า และติดตั้งระบบไฟฟ้าในเรือตามแบบ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างต่อเรือยอร์ช

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
10.1 กฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่37) พ.ศ.  255310.2 ข้อบังคับกรมเจ้าท่า ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และค่าธรรมเนียมการตรวจและการออกใบสำคัญรับรองการตรวจเรือ เพื่ออนุญาตให้ใช้เรือและใบสำคัญแสดงการตรวจเรือเพื่อจดทะเบียนเรือไทย สำหรับเรือเดินทะเลเฉพาะเขตและเดินชายแดน พ.ศ. 256110.3 International Association of Classification Societies: IACS: No.47 Shipbuilding and Repair Quality Standard (Rev.5, Oct. 2010)10.4 Classification Society: Lloyd’s Register, Rules, and Regulations for the Classification of Ships10.5 International Organization for Standardization: ISO: 12215 Small craft — Hull construction and scantling10.6 International Convention for the Safety of Life at Sea: SOLAS 10.7 International Convention for the Prevention of Pollution from Ships: MARPOL10.8 German VG 81 204 – Normen,Freimasstoleranzen fuer Schiffe aus Metall, 197610.9 Japanese Shipbuilding Quality Standard(J.S.Q.S),Hull Part,198510.10 Germanicher Lloyd, Comparison of No.47 Shipbuilding and Repair Quality Standard (1996) (Rev. 1, 1999) (Rev.2, Dec. 2004) with Japan Shipbuilding Quality Standard (JSQS, 1004, Appendix 0144) and Production Standard of the German Shipbuilding Industry

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
YB.4.1.1

อ่านแบบด้านไฟฟ้า

อธิบายหลักการทำงานของระบบไฟฟ้าในเรือ

YB.4.1.1.01 178514
YB.4.1.1

อ่านแบบด้านไฟฟ้า

อ่านแบบ schematic diagram และ one line diagram ของระบบไฟฟ้าในเรือ

YB.4.1.1.02 178515
YB.4.1.1

อ่านแบบด้านไฟฟ้า

อ่านแบบการจัดวางตำแหน่งอุปกรณ์ และการเดินสายไฟ (Equipment arrangement and cable laying)

YB.4.1.1.03 178516
YB.4.1.1

อ่านแบบด้านไฟฟ้า

อ่านแบบ Installation/seating เครื่องกำเนิดไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า และส่วนประกอบ ที่แสดงรายละเอียดในการติดตั้งตามแบบ

YB.4.1.1.04 178517
YB.4.1.2

ติดตั้งระบบไฟฟ้าตามแบบ

ใช้เครื่องมือช่างในการติดตั้งระบบไฟฟ้าในเรือ

YB.4.1.2.01 178518
YB.4.1.2

ติดตั้งระบบไฟฟ้าตามแบบ

ติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าตามแบบ

YB.4.1.2.02 178519
YB.4.1.2

ติดตั้งระบบไฟฟ้าตามแบบ

ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าตามแบบ

YB.4.1.2.03 178520
YB.4.1.2

ติดตั้งระบบไฟฟ้าตามแบบ

ติดตั้งระบบสายไฟ รางสายไฟในเรือตามแบบ

YB.4.1.2.04 178521

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะในการทำงานด้านเทคนิค (Technical Skills)



1. ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการปฏิบัติงาน



2 ทักษะในการอ่านแบบต่อเรือ



3. ทักษะในการอ่านและใช้ภาษาเชิงวิศวกรรมศาสตร์หรือเชิงเทคนิค



4. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน



5. ทักษะในการวิเคราะห์ใช้ตรรกะและเหตุผล



ทักษะในการทำงาน (Soft Skills)



1. ทักษะการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง



2. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (Team working)

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้ในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์



2. ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้าในเรือ



3. ความรู้ด้านเกี่ยวกับเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า



4. ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า



5. ความรู้ด้าน ship structure


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการในหน่วยสมรรถนะนี้จะใช้ในการพิจารณาประกอบร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) ซึ่งหลักฐานที่ต้องการ สามารถใช้ทดแทนความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นได้ โดยเจ้าหน้าที่สอบจะพิจารณารายละเอียดตามความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นๆ และยกเว้นการสอบใน หน่วยสมรรถนะนั้นได้



 (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2. แบบรวมรวม/แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การปฏิบัติงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. หลักฐานการศึกษาที่เกี่ยวข้องที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมายืนยันตัวเองตามหน่วยสมรรถนะ



2. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับหลักสูตรที่เกี่ยวข้อง



 



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้เข้ารับการประเมินสามารถนำหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้มาประกอบในการประเมิน



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้ ที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมาแสดง เช่น ใบรับรองฯ



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน แสดงหลักฐานการผ่านการอบรม/ใบรับรองจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)



3. พิจารณาหลักฐานจากแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การปฏิบัติงาน ร่วมกับการสอบสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการประเมินควรมีความรู้พื้นฐานหรือเข้าร่วมปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้งระบบไฟฟ้าในเรือ



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. ระบบไฟฟ้าในเรือพื้นฐานประกอบด้วยระบบไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง



2. เครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า เช่น voltmeter, amp meter, ohm meter



3. ระบบการผลิตไฟฟ้าและการจ่ายไฟในเรือพื้นฐานประกอบด้วย เครื่องกำเนิดไฟฟ้า main switchboard ตู้จ่ายไฟ ระบบสายไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้า



4. Ship structure คือ โครงสร้างของตัวเรือส่วนต่างๆ เช่น กระดูกงูเรือ กงเรือ เปลือกเรือ ดาดฟ้าเรือ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจระบบไฟฟ้าในเรือ



(1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้าในเรือ



(2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าในเรือ



18.2 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า



(1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า



(2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับเครื่องมือวัดพื้นฐานทางไฟฟ้า



18.3 เครื่องมือประเมิน ความเข้าใจระบบการผลิตไฟฟ้าและการจ่ายไฟในเรือ



(1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับระบบการผลิตไฟฟ้าและการจ่ายไฟในเรือ



(2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับระบบการผลิตไฟฟ้าและการจ่ายไฟในเรือ



18.4 เครื่องมือประเมินความเข้าใจ โครงสร้างตัวเรือ



(1) ข้อเขียนแบบปรนัย/อัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างตัวเรือ



(2) การสัมภาษณ์ เช่น การสอบสัมภาษณ์เชิงเทคนิคเกี่ยวกับโครงสร้างตัวเรือ



ยินดีต้อนรับ