หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ซ่อมบำรุงโครงสร้างเรือยอร์ช เปลือกเรือ และเก๋งเรือยอร์ช

สาขาวิชาชีพการเดินเรือ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MRT-TYQA-130A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ซ่อมบำรุงโครงสร้างเรือยอร์ช เปลือกเรือ และเก๋งเรือยอร์ช

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

รหัส ISCO-08 2144 นายช่างกลเรือปฎิบัติการ/ชำนาญการ/ชำนาญการพิเศษ        



ช่างซ่อมบำรุงเรือยอร์ช ระดับ 3



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้สามารถเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือในการซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช โดยสามารถซ่อม ตรวจสอบคุณภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือยอร์ชและเก๋งเรือยอร์ช รวมถึงการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชได้อย่างถูกต้อง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพช่างซ่อมบำรุงเรือยอร์ช

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
-N/A-

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
1. คู่มือการซ่อม บำรุงรักษาเรือยอร์ช

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
YR.3.1.1

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือโดยการใช้ประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

อธิบายหลักการตรวจสอบตัวเรือยอร์ช (โครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือ) ด้วยประสาทสัมผัส และตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

YR.3.1.1.01 178222
YR.3.1.1

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือโดยการใช้ประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

ตรวจสอบตัวเรือยอร์ช (โครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือ) ด้วยประสาทสัมผัส และตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

YR.3.1.1.02 178223
YR.3.1.1

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือโดยการใช้ประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

รายงานผลการตรวจสอบตัวเรือ (โครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือ) ด้วยประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา (Visual Inspection)

YR.3.1.1.03 178224
YR.3.1.2

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชโดยใช้เครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

อธิบายหลักการตรวจสอบโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชด้วยเครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

YR.3.1.2.01 178225
YR.3.1.2

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชโดยใช้เครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

ตรวจสอบโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชด้วยเครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

YR.3.1.2.02 178226
YR.3.1.2

ตรวจสอบสภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชโดยใช้เครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

รายงานผลการตรวจสอบโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชด้วยเครื่องมือพิเศษชนิดต่าง ๆ

YR.3.1.2.03 178227
YR.3.1.3

เตรียมเครื่องมือ ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

อธิบายหลักการเตรียมเครื่องมือซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.3.01 178228
YR.3.1.3

เตรียมเครื่องมือ ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลในการทำงาน

YR.3.1.3.02 178229
YR.3.1.3

เตรียมเครื่องมือ ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

เลือกใช้เครื่องมือตัด ขึ้นรูป และประกอบโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.3.03 178230
YR.3.1.3

เตรียมเครื่องมือ ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

บำรุงรักษาเครื่องมือตัด ขึ้นรูป และประกอบโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.3.04 178231
YR.3.1.4

ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

อธิบายหลักการซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.4.01 178232
YR.3.1.4

ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

วางแผนการซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.4.02 178233
YR.3.1.4

ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

สร้างอุปกรณ์จับยึดและอุปกรณ์ช่วยจับยึดเพื่อซ่อมบำรุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.4.03 178234
YR.3.1.4

ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

ซ่อมโครงสร้างเรือ เปลือกเรือยอร์ชและเก๋งเรือยอร์ช

YR.3.1.4.04 178235
YR.3.1.4

ซ่อมบํารุงโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ช

ตรวจสอบคุณภาพโครงสร้างเรือ เปลือกเรือและเก๋งเรือยอร์ชหลังซ่อม

YR.3.1.4.05 178236

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

-N/A-


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการสังเกตุสิ่งผิดปกติ ตรวจสอบตัวเรือยอร์ชด้วยประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา



2. ทักษะการรายงานผลการตรวจสอบ



3. ทักษะการออกแบบและอ่านแบบในงานด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้อง



4. ทักษะการวางแผน วางแผนการทำงานซ่อม



5. ทักษะในการใช้เครีองมือช่างในงานซ่อมบำรุงเรือ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับหลักการ/วิธีการซ่อมบำรุงเรือยอร์ช



2. ความรู้เกี่ยวกับสิ่งผิดปกติในการตรวจสอบตัวเรือยอร์ชด้วยประสาทสัมผัสและตรวจพินิจด้วยสายตา



3. ความรู้ในการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ



4. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ในการออกแบบ



5. ความรู้ในการเลือกใช้เครื่องมือช่างในงานซ่อมบำรุงเรือยอร์ช



6. ความรู้ในการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะใช้ในการพิจารณาประกอบร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  1. หลักฐาน/หนังสือรับรองการทำงาน หรือการผ่านงาน

  2. หนังสือรับรองคุณวุฒิที่เป็นที่ยอมรับ (ถ้ามี)

  3. แฟ้มสะสมงาน ได้แก่ เอกสารผ่านการฝึกอบรมในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน เอกสารตัวอย่างโครงการ หรือผลงานของผู้ปฏิบัติงานที่เคยดำเนินงานมาแล้ว รวมถึง รางวัลหรือผลงานในการปฏิบัติงานด้านที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น (ถ้ามี)



 (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)




  1. หลักฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาซ่อมบำรุงเรือ สาขางานซ่อมบำรุงเรือยอร์ช

  2. หลักฐานการผ่านการอบรม หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการในด้านที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะ (ถ้ามี)

  3. ผลการสอบข้อเขียน (ถ้ามี)

  4. ผลการทดสอบสัมภาษณ์/ปฏิบัติ (ถ้ามี)



 



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงหน่วยสมรรถนะนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของหน่วยสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ ต้องแสดงถึง




  • ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง

  • วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน และกฎหมายหรือเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

  • ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



(ง) วิธีการประเมิน



1.สอบปรนัย



2. สอบสัมภาษณ์



3. สอบสถานการณ์จำลอง



4. สอบข้อเขียน


15. ขอบเขต (Range Statement)

-N/A-


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
-N/A-

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
-N/A-

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. ประเมินจากแบบสอบข้อเขียน



2. ประเมินโดยการสัมภาษณ์ตามแบบทดสอบที่กำหนดไว้



3. การประเมินจากหลักฐานอื่น ๆ เช่น หนังสือรับรอง เอกสารรับรองการผ่านการอบรม หนังสือรับรองการทำงาน/ผ่านงาน จะต้องดำเนินการควบคู่กับการสัมภาษณ์ร่วมด้วย



ยินดีต้อนรับ