หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารกลไก และกระบวนการพนักงานสัมพันธ์

สาขาวิชาชีพบริหารงานบุคคล


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HRM-YKTP-099A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารกลไก และกระบวนการพนักงานสัมพันธ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

TSCO 2412.20 : นักวิเคราะห์งานอาชีพ 

ISCO 2423 : ผู้ประกอบวิชาชีพด้านงานบุคคล

 


1 2423 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านงานบุคคลและอาชีพ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
สามารจัดทำแผนบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ และดำเนินการรวมทั้งติดตามผลการบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพบริหารงานบุคคล 

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1050501 จัดทำแผนบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 1.1 จัดทำแผนบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกองค์การ 1050501.01 176074
1050501 จัดทำแผนบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 1.2 สื่อสารกับผู้บริหาร และกลไกการพนักงานสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อสร้างความเข้าใจระหว่างกัน 1050501.02 176075
1050502 ดำเนินการ และติดตามผลการบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 2.1 ดำเนินงานตามแผนการบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 1050502.01 176076
1050502 ดำเนินการ และติดตามผลการบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 2.2 ประเมิน และปรับเปลี่ยนแผนงาน เพื่อให้การบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด 1050502.02 176077
1050502 ดำเนินการ และติดตามผลการบริหารกลไกการพนักงานสัมพันธ์ 2.3 เป็นตัวแทนองค์การในการเจรจาต่อรองกับกลไกพนักงานสัมพันธ์ เพื่อให้เป็นไปตามเกี่ยวกับการทำงาน และสอดคล้องกับนโยบายขององค์การ 1050502.03 176078

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1) ทักษะในการสื่อสาร นโยบายและแนวปฏิบัติในงานพนักงานสัมพันธ์ขององค์การ

2) ทักษะในการเจรจาต่อรองกับกลไกแรงงานสัมพันธ์ เช่น สหภาพแรงงาน เป็นต้น

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน และการวางแผนบริหารกลไกพนักงานสัมพันธ์

2) ความรู้เกี่ยวกับความสามารถในการบริหารกลไกพนักงานสัมพันธ์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

14.1 หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน

2) ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนบริหารกลไกพนักงานสัมพันธ์

14.2 หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1) ตัวอย่างแผนงานที่เกี่ยวข้องกับกลไกพนักงานสัมพันธ์

2) ตัวอย่างแนวทางการบริหารกลไกพนักงานสัมพันธ์

14.3 คำแนะนำในการประเมิน

    ใช้วิธีการในการสอบสัมภาษณ์ประกอบกับการสอบข้อเขียน ทั้งนี้ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะประเมินย่อย ขอบเขต ความรู้และทักษะที่กำหนด

วิธีการประเมิน

1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้ แฟ้มสะสมงาน ได้แก่ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร ใบวุฒิบัตร เอกสารต่าง ๆ และ/หรือ

2. ผู้ประเมินทำประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ และ/หรือ ใช้แบบสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

กลไกการแรงงานสัมพันธ์ หมายถึง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพนักงานสัมพันธ์ขององค์การทั้งภายในและภายนอกองค์การ เช่น ผู้บังคับบัญชา สหภาพแรงงาน หน่วยงานภาครัฐ เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

คัดกรองผู้สมัครจากใบสมัคร เพื่อพิจารณาคุณสมบัติเบื้องต้นก่อนอนุมัติให้เข้าสู่กระบวนการประเมิน และประเมินสมรรถนะของผู้เข้ารับการประเมินด้วยเครื่องมือประเมินความรู้และทักษะ ให้ครอบคลุมเกณฑ์การปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการของหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่

1) ประเมินภาคความรู้ด้วยข้อสอบข้อเขียนแบบตัวเลือก

2) ประเมินภาคความรู้ด้วยแบบการสัมภาษณ์ 

3) ประเมินความรู้และความสามารถจากประสบการณ์ด้วยแฟ้มสะสมผลงานของผู้รับการประเมิน

 



ยินดีต้อนรับ