หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

พัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

สมรรถนะสนับสนุนการทำงานด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CEC-FLHE-019

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ พัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานเฉพาะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Technology)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้มีความสามารถในการบริหารจัดการกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนา ซอฟต์แวร์สามารถจัดทำแผนและพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง รวมทั้งสามารถตรวจสอบควบคุม คุณภาพซอฟต์แวร์ตามเงื่อนไขการตรวจสอบคุณภาพได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
DT701

จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร

1.1 ระบุผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ 

DT701.01 176668
DT701

จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร

1.2 สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 

DT701.02 176669
DT701

จัดการผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร

1.3 รวบรวมความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

DT701.03 176670
DT702

จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง

2.1 กำหนดผลผลิต/ผลลัพธ์ของการพัฒนาซอฟต์แวร

DT702.01 176671
DT702

จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง

2.2 ระบุทรัพยากรที่ต้องใช้

DT702.02 176672
DT702

จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง

2.3 กำหนด KPI ในแต่ละช่วงเวลา

DT702.03 176673
DT702

จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง

2.4 กำหนดแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเป็นวงรอบ (iteration)

DT702.04 176674
DT702

จัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบพลวัตรปรับต่อเนื่อง

2.5 กำหนดแนวทางตรวจสอบผลลัพธ์การทำงานแต่ละวงรอบ

DT702.05 176675
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.1 ออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์(Software Architecture) 

DT703.01 176676
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.2 กำหนดรายละเอียดสถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์(Software Architecture)

DT703.02 176677
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.3 จัดทำซอฟต์แวร์ต้นแบบ

DT703.03 176678
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.4 ประเมินผลต้นแบบ

DT703.04 176679
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.5 ปรับต้นแบบตามผลการประเมิน 

DT703.05 176680
DT703

จัดทำซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่อง

3.6 ทำซ้ำเกณฑ์ปฏิบัติงาน 3.1 - 3.5

DT703.06 176681
DT704

ตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร

4.1 กำหนดเงื่อนไขการตรวจสอบคุณภาพ 

DT704.01 176682
DT704

ตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร

4.2 ดำเนินการตรวจสอบคุณภาพตามเงื่อนไขที่กำหนด

DT704.02 176683
DT704

ตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร

4.3 ปรับปรุงการจัดทำซอฟต์แวร์ให้ได้ตามเงื่อนไขการตรวจสอบคุณภาพที่กำหนด 

DT704.03 176684

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

  • ทักษะการเรียนรู้ในศตวววษที่ 21

  • ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบราชการ หน้าที่ความรับผิดชอบ และการบริหารจัดการภาครัฐ

  • ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารทางราชการ กฎหมายว่าด้วยการละเมิด

  • ความรู้เกี่ยวกับทิศทางและยุทธศาสตร์ของประเทศ

  • ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  • ทักษะการทำงานเป็นทีม

  • ทักษะการวิเคราะห์ปัญหา

  • ชอบแก้ปัญหาที่มีความท้าทาย (Problem Solving)

  • มีความคิดริเริ่ม (Innovative)

  • ชอบทดลองทำสิ่งใหม่ๆ (Exploratorily Excitable)

  • มีความพยายาม ไม่ย่อท้อ (Persistent)

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์

  • ความรู้เกี่ยวกับการอไจล์(Agile) และการประยุกต์ใช้งาน

  • ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทดสอบซอฟต์แวร์

  • ความรู้ด้านข้อมูลและการวิเคราะห์(Data and Analytic Literacy) ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Quantitative and Qualitative)

  • เทคนิคการบริหารผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder Management)


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  • ผลของการบันทึกความคิดเห็นของหัวหน้างาน

  • ผลการประเมินการใช้งานซอฟต์แวร์หรือระบบจากผู้ใช้งาน



(ข) หลักฐานความรู้(Knowledge Evidence)




  • ผลการทดสอบความรู้ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 

  • ประกาศนียบัตรต่างๆ จากการฝึกอบรมพัฒนาหรือการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง



(ค) คำแนะนำในการประเมิน




  • ตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและ หลักฐานด้านความรู


15. ขอบเขต (Range Statement)

การพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่องขององค์กรครอบคลุมทั้งในส่วนของการพัฒนาเอง และการจัดจ้างหน่วยงานภายนอกในการพัฒนาเพื่อกระตุ้นจูงใจสู่การพัฒนาองค์กรอัจฉริยะที่มุ่งเน้นคุณภาพการ ให้บริการดิจิทัลและพัฒนากระบวนการอย่างมีประสิทธิภาพ



(ก) คำแนะนำ



การพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางพลวัตรปรับต่อเนื่องนี้จะพิจารณาจากกระบวนการดำเนินการใน ขั้นตอนต่างๆ ตลอดทั้งวัฏจักรชีวิตของซอฟต์แวร์ตั้งแต่การจัดทำแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์การพัฒนา ซอฟต์แวร์การตรวจสอบควบคุมคุณภาพซอฟต์แวร์และประเมินคุณภาพโดยรวมของซอฟต์แวร์อย่างมี ความยืดหยุ่น โดยเน้นความเหมาะสมกับบริบทขององค์กรที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการและใช้ งานได้จริง



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

  • กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ