หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ผลิตชุดข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ (Open Public Data)

สมรรถนะสนับสนุนการทำงานด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CEC-AMHU-031

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ผลิตชุดข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะ (Open Public Data)

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานนโยบายและงานวิชาการ (Academic) และกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านบริการ (Service)



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถระบุข้อสนเทศที่เปิดเผยได้และเป็นไปตามหลักการและกฎหมายที่ กำหนด ตลอดจนจัดทำข้อสนเทศให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน Open Data

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540  พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
Dlit501

ระบุข้อสนเทศที่เปิดเผยได้และเป็นไปตามหลักการและกฎหมายที่กำหนด

2.1 จัดรูปแบบตามมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล (Government Open Data) 

Dlit501.01 176807
Dlit501

ระบุข้อสนเทศที่เปิดเผยได้และเป็นไปตามหลักการและกฎหมายที่กำหนด

2.2 ตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพของข้อมูลก่อนการเผยแพร่ 

Dlit501.02 176808
Dlit501

ระบุข้อสนเทศที่เปิดเผยได้และเป็นไปตามหลักการและกฎหมายที่กำหนด

2.3 เผยแพร่ชุดข้อมูลสู่สาธารณะในรูปแบบ Open Data ในช่องทางที่กำหนด 

Dlit501.03 176809
Dlit502

จัดทำข้อสนเทศให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน Open Data

2.1 จัดรูปแบบตามมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล (Government Open Data) 

Dlit502.01 176868
Dlit502

จัดทำข้อสนเทศให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน Open Data

2.2 ตรวจสอบความถูกต้องและคุณภาพของข้อมูลก่อนการเผยแพร่

Dlit502.02 176869
Dlit502

จัดทำข้อสนเทศให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน Open Data

2.3 เผยแพร่ชุดข้อมูลสู่สาธารณะในรูปแบบ Open Data ในช่องทางที่กำหนด 

Dlit502.03 176870

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

  • ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

  • ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบราชการ หน้าที่ความรับผิดชอบ และการบริหารจัดการภาครัฐ

  • ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายปกครอง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารทางราชการ กฎหมายว่าด้วยการละเมิด

  • ความรู้เกี่ยวกับทิศทางและยุทธศาสตร์ของประเทศ

  • ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิท


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  • ยอมรับปรับตัว (Adaptive)

  • ทำงานร่วมกับและให้ความช่วยเหลือผู้อื่น (Collaborative)

  • เปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ (Open to New Experience)

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  • ความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บข้อมูล และเปิดเผยข้อมูล

  • ความรู้ด้านมาตรฐานข้อมูล (Government Data Standard) และมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูล (Government Open Data)

  • ความรู้ด้านการจัดทำและสามารถเผยแพร่ชุดข้อมูลสู่สาธารณะในรูปแบบ Open Dat


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  • เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากหน่วยงาน

  • เอกสารการประเมินการปฏิบัติงานจริงตามรายการประเมิน

  • แบบบันทึกรายการจากการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

  • ประวัติการดำรงตำแหน่ง หรือ ประวัติการทำงาน



(ข) หลักฐานความรู้(Knowledge Evidence)




  • เอกสารรับรองการสอบผ่านการทดสอบความรู้ทางด้านไอทีด้านดิจิทัล หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  • เอกสารรับรองการเข้ารับการอบรมความรู้ทางด้านไอทีด้านดิจิทัล หรืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  • ประกาศนียบัตรต่างๆ จากการฝึกอบรมพัฒนาหรือการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง



(ค) คำแนะนำในการประเมิน




  • ตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและ หลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



การประเมินหน่วยสมรรถนะนี้จะประเมินสมรรถนะในการผลิตชุดข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้แก่ สาธารณะเป็นหลัก โดยแต่ละหน่วยงานจะมีลักษณะ วิธีการอ้างอิง สูตรในการคำนวณหน่วย และปัจจัย อื่นที่แตกต่างกันไป การประเมินจึงไม่ควรจะประเมินบนฐานของความเข้าใจที่ว่าข้อมูลหนึ่งชุดสามารถ ใช้ได้กับทุกหน่วยงาน ส่วนการวิเคราะห์ว่าใครจะเป็นผู้ใช้ข้อมูลใด เนื่องจากเป็นข้อมูลให้บริการสาธารณะ ดังนั้นการวิเคราะห์ว่าใครเป็นผู้ใช้จะเป็นสมรรถนะหลักเฉพาะของบุคคคลากรที่ติดต่อกับหน่วยงาน ภายนอก หรือประชาชน



(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  • กำหนดขอบเขตงานของการสร้างข้อสนเทศเพื่อเผยแพร่ มีขอบเขตครอบคลุม จะต้องมีความเข้าในว่า ข้อมูลนั้นจะผลิตมาจากส่วนใดในสถาปัตยกรรมองค์กร (EA) ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ (1) Business Architecture (2) Information Architecture (3) Application Architecture (4) Technology/ Infrastructure Architecture โดยสามารถระบุแหล่งข้อมูลที่จะนำมาผลิตได้รวมทั้งขอบเขตการใช้ งานของข้อมูลชุดนั้นๆ เช่น เวลาที่ข้อมูลสามารถใช้งานได้ขั้นตอนในการคำนวณ หน่วยของข้อมูล การตรวจสอบคุณภาพข้อมูล และ แหล่งอ้างอิงที่มาของข้อมูล

  • การเผยแพร่ชุดข้อมูลสู่สาธารณะในรูปแบบ Open Data มีขอบเขตครอบคลุมถึง ความเข้าใจในกรอบ แนวทางการเชื่อมโยงรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ(Thailand e-Government Interoperability Framework) หรือ TH e-GIF เข้าใจความสำคัญของการจัดทำมาตรฐานข้อมูล 

  • การประเมินให้พิจารณาว่าสมรรถนะนี้เป็นสมรรถนะของข้าราชการทุกคน จึงมีขอบเขตในการผลิตชุด ข้อมูลเพื่อเผยแพร่ให้แก้สาธารณะเป็นหลัก ส่วนการวิเคราะห์ว่าใครจะเป็นผู้ใช้ข้อมูลใด เนื่องจากเป็น ข้อมูลให้บริการสาธาณะ ดังนั้นการวิเคราะห์ว่าใครเป็นผู้ใช้จะเป็นสมรรถนะหลักของบุคคคลากรที่ ติดต่อกับหน่วยงานภายนอก หรือประชาชน


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

  • กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ