หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดทำนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ LOG-NCLQ-719A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดทำนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. ทบทวนครั้งที่ 2 / 2565

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่ให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศซึ่งจะต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพโลจิสติกส์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04661

สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

1. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

04661.01 173660
04661

สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

2. ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศอย่างถูกต้องเหมาะสม

04661.02 173661
04661

สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. นำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

04661.03 173662
04662

กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

1.  จัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

04662.01 173663
04662

กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

2. จัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

04662.02 173664
04663

กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

1. จัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

04663.01 173665
04663

กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

2. กำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพ

04663.02 173666
04663

กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. จัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 

04663.03 173667
04664

ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

1. เข้าร่วมกิจกรรมการประชุม อบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

04664.01 173668
04664

ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

2. ติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ

04664.02 173669

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ                      1.1 สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

    1.2 สามารถระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศอย่างถูกต้องเหมาะสม

    1.3 สามารถนำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

2. ปฏิบัติการด้านการกำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

     2.1 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

    2.2 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ

 3. ปฏิบัติการด้านการกำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

    3.1 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    3.2 สามารถกำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพ

    3.3 สามารถจัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

 4. ปฏิบัติการด้านการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

    4.1 สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการประชุม อบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

    4.2 สามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. กระบวนการจัดทำเอกสารสำหรับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 

2. กระบวนการจัดบันทึกข้อมูลที่ใช้ประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในระบบคอมพิวเตอร์

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

     1. รายงานการติดตามการบริการของผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

     1. ใบผ่านการอบรมเกี่ยวกับการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

     2. เอกสารรับรองและผลการประเมินจากหน่วยงาน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

    ประเมินเกี่ยวกับการจัดหาและควบคุมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

(ง) วิธีการประเมิน

    1. พิจารณาหลักฐานความรู้

    2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ 

     1. ผู้รับการประเมินจะต้องจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

     2. ผู้รับการประเมินจะต้องจัดบันทึกข้อมูลที่ใช้ประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในระบบคอมพิวเตอร์

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

     1. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศ และนำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เช่น 

     2. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการ และจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการ เช่น กำหนดแนวทางของความคิด และช่วยให้แน่วแน่ต่อการใช้ทรัพยากรและกำลังความพยายามเพื่อไปสู่เป้าหมาย และกำหนดการปฏิบัติงานที่ต่อเนื่องในอนาคตของกิจการ

     3. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องจัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันโดยกำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขัน พร้อมทั้งจัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ  เช่น สินค้าหรือบริการที่จะขาย กลุ่มลูกค้าที่คาดหวัง จุดแข็งและจุดอ่อนของกิจการที่จะทำนโยบายการตลาด เช่น นโยบายด้านราคา การส่งเสริมการตลาด การกระจายสินค้า วิธีการหรือกระบวนการในการผลิต รวมถึงเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ตัวเลขทางการเงิน นับตั้งแต่รายได้ที่คาดว่าจะได้ ค่าใช้จ่าย กำไร ขาดทุน จำนวนเงินลงทุนที่ต้องการ และกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้มาหรือใช้ไป

     4. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมการประชุม อบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ

     5. คำว่า “ถูกต้องครบถ้วน” หมายถึง ความถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงานตามที่ระบุไว้ในแบบประเมินทักษะในการปฏิบัติงาน

     6. คำว่า “อย่างมีประสิทธิภาพ” หมายถึง ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จลุล่วงตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน

       1. ประเมินจากสัมภาษณ์ (กรณีศึกษา-แผนธุรกิจ)

       2. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)

       ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 

18.2 เครื่องมือการประเมิน

      1. ประเมินจากสัมภาษณ์ (กรณีศึกษา-แผนธุรกิจ)

      2. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)

      ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือการประเมิน

     1. ประเมินจากสัมภาษณ์ (กรณีศึกษา-แผนธุรกิจ)

     2. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.4 เครื่องมือการประเมิน

     1. ประเมินจากสัมภาษณ์ (กรณีศึกษา-แผนธุรกิจ)

     2. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



 



ยินดีต้อนรับ