หน่วยสมรรถนะ
บริหารความเสี่ยงการควบคุมคุณภาพ
สาขาวิชาชีพการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | FPC-FHOB-470A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | บริหารความเสี่ยงการควบคุมคุณภาพ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2564 |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ผู้ควบคุมคุณภาพในอุตสาหกรรมน้ำตาล 1 7515 ผู้ชิมรสและจัดระดับชั้นคุณภาพของอาหารและเครื่องดื่ม |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่ควบคุมบริหารความเสี่ยงการควบคุมคุณภาพ วิเคราะห์ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการควบคุมคุณภาพ กำหนดวัตถุประสงค์และระบุความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละภารกิจ เพื่อประเมินความเสี่ยง และติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของการควบคุมคุณภาพ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาล |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N./A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
มาตรฐานสากล เช่น GMP, HACCP, ICUMSA, ISO 17025, มอก. 56-2533 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
B011101 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการควบคุมคุณภาพ |
1.1 วิเคราะห์ความเสี่ยงภายในและภายนอก |
B011101.01 | 170731 |
B011101 วิเคราะห์ความเสี่ยงที่ส่งผลกระทบต่อการควบคุมคุณภาพ |
1.2 ระบุผลกระทบความเสี่ยงภายในและภายนอก |
B011101.02 | 170732 |
B011102 กำหนดวัตถุประสงค์และระบุความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละภารกิจ |
1.1 กำหนดแผนงานในการบริหารความเสี่ยงภายในแผนกควบคุมคุณภาพ |
B011102.01 | 170737 |
B011102 กำหนดวัตถุประสงค์และระบุความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในแต่ละภารกิจ |
1.2 แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงภายในแผนกควบคุมคุณภาพ |
B011102.02 | 170738 |
B011103 ประเมินความเสี่ยง และติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของการควบคุมคุณภาพ |
1.1 ประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ |
B011103.01 | 170744 |
B011103 ประเมินความเสี่ยง และติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของการควบคุมคุณภาพ |
1.2 ประเมินความเสียงเชิงปริมาณ |
B011103.02 | 170745 |
B011103 ประเมินความเสี่ยง และติดตามผลการบริหารความเสี่ยงของการควบคุมคุณภาพ |
1.3 จัดลำดับความเสี่ยง และติดตามผลบริหารความเสี่ยงภายในแผนกควบคุมคุณภาพ |
B011103.03 | 170746 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) ใบรายงาน หรือแบบฟอร์มบันทึกรายการจากการสัมภาษณ์ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) ผลการตอบปากเปล่าจากการสัมภาษณ์ หรือผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (certificate) ใบผ่านการอบรม แฟ้มสะสมงาน (portfolio) ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่น ๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องยอมรับ (ค) คำแนะนำในการประเมิน หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสำคัญและตอบสนองตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน โดยต้องแสดงถึง 1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง 2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงานและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. ขอบเขตด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ง) วิธีการประเมิน 1. การประเมินผลความรู้โดยประเมินจาก ข้อสอบข้อเขียน 2. การประเมินผลการปฏิบัติโดยใช้การประเมินจากการสัมภาษณ์ แฟ้มสะสมงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ N/A (ข) คำอธิบายรายละเอียด ควบคุมดูแลการจัดการด้านกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน ที่ได้รับมอบหมายและสอดคล้องตามการดำเนินงานตามระบบมาตรฐานสากลตามที่โรงงานกำหนด โดยกำหนด/จัดหากำลังคนให้เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายของโรงงาน การให้ความรู้กับพนักงานเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานแก่บุคลากร เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทบทวนการปฏิบัติงานภายในเพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เพื่อให้คำแนะนำเมื่อเกิดปัญหา เพื่อให้เกิดการแก้ไขได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
เครื่องมือการประเมินให้ดูจากคู่มือการประเมิน ซึ่งประกอบด้วย 1. แบบสัมภาษณ์ 2. ข้อสอบข้อเขียน 3. แฟ้มสะสมงาน |