หน่วยสมรรถนะ
เตรียมการตรวจประเมินตามหลักการ ข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองมาตรฐานการปฎิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)
สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ARC-OANC-554A |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | เตรียมการตรวจประเมินตามหลักการ ข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองมาตรฐานการปฎิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / 2565 |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
1 1311 ผู้จัดการด้านการผลิตในภาคการเกษตรและการป่าไม้ 1 3142 เจ้าหน้าที่เทคนิคด้านการเกษตรและการประมง |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ หมายถึง ผู้มีความรู้ความสามารถตรวจประเมินเบื้องต้นการดำเนินงานในแปลงปลูก เปรียบเทียบกับข้อกำหนดและเกณฑ์การพิจารณารับรองมาตรฐาน สามารถอธิบายข้อกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) วิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมเพื่อเตรียมการตรวจสอบ จัดทำบันทึกข้อมูลการปฏิบัติทางการเกษตรของแปลงปลูก |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
บุคคลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการตรวจประเมิน |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. หลักเกณฑ์การรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ของสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)2. มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ.9001-2564 3. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.25224. พระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 25515. มาตรฐาน ISO/IEC 17065 : 20126. มาตรฐาน ISO/IEC 17020 : 20127. มาตรฐาน ISO 19011 : 2018 |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
101011 ระบุข้อกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) โดยวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมเพื่อเตรียมการตรวจประเมินในประเด็นสำคัญ |
1. ระบุข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) |
101011.01 | 170304 |
101011 ระบุข้อกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) โดยวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤติที่ต้องควบคุมเพื่อเตรียมการตรวจประเมินในประเด็นสำคัญ |
2. วิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตได้อย่างเหมาะสมตามชนิดพืช/กระบวนการผลิตและสภาพแวดล้อม |
101011.02 | 170305 |
101012 วางแผนการตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) |
1. กำหนดแผนการตรวจประเมินระบบการผลิตพืชตามขอบข่ายที่ขอรับการรับรอง |
101012.01 | 170311 |
101012 วางแผนการตรวจประเมินตามหลักเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) |
2. ระบุข้อมูล/เอกสารอ้างอิงที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการตรวจประเมิน |
101012.02 | 170312 |
101013 จัดทำแบบบันทึกรายการตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของแปลงปลูก |
1. จัดทำรายการการตรวจสอบประเมินตามเกณฑ์ข้อกำหนดและขอบข่ายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม |
101013.01 | 170313 |
101013 จัดทำแบบบันทึกรายการตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของแปลงปลูก |
2. จัดกลุ่มข้อมูลที่รวบรวมไว้เพื่อผู้ตรวจประเมินสามารถสืบค้นและเข้าใจได้ง่าย |
101013.02 | 170314 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ความรู้และทักษะเกี่ยวกับการตรวจประเมินตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. การเตรียมการตรวจ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 วิธีการประเมิน |