หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บำรุงรักษาโยธาของโรงไฟฟ้าพลังน้ำเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) โดยการตรวจสภาพเขื่อนของโรงไฟฟ้าพลังน้ำด้วยเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน (Dam Instrument Inspection)

สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GPW-XNIH-353A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บำรุงรักษาโยธาของโรงไฟฟ้าพลังน้ำเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) โดยการตรวจสภาพเขื่อนของโรงไฟฟ้าพลังน้ำด้วยเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน (Dam Instrument Inspection)

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ปฏิบัติงานบำรุงรักษาโยธาโรงไฟฟ้าพลังน้ำ 

ISCO-08 3112 เจ้าหน้าที่/ช่างเทคนิคด้านวิศวกรรมโยธา

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ จะสมารถปฏิบัติงานบำรุงรักษาโยธาของโรงไฟฟ้าพลังน้ำเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) โดยการตรวจสภาพเขื่อนของโรงไฟฟ้าพลังน้ำด้วยเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน (Dam Instrument Inspection) ซึ่งจะดำเนินการตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน และตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพสาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน สาขางานผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
10.1    กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 254710.2    มาตรฐานการจัดการความปลอดภัยในการทำงานบนที่สูง (มปอ.101:2561)

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
HPG-MC03-4-002-01

ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

1. อธิบายหลักการทำงานของเครื่องมือตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อนที่ทำการเก็บข้อมูล

HPG-MC03-4-002-01.01 168767
HPG-MC03-4-002-01

ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

2. เตรียมเครื่องมือ สถานที่และเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานเก็บข้อมูลตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

HPG-MC03-4-002-01.02 168768
HPG-MC03-4-002-01

ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

3. บันทึกข้อมูลตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อนตามแผนที่ได้รับมอบหมาย

HPG-MC03-4-002-01.03 168769
HPG-MC03-4-002-01

ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

4. บ่งชี้ถึงสิ่งผิดปกติได้จากข้อมูลตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อนเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน

HPG-MC03-4-002-01.04 168770
HPG-MC03-4-002-01

ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

5. รายงานผลการเก็บข้อมูลตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

HPG-MC03-4-002-01.05 168771
HPG-MC03-4-002-02

ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

1. อธิบายหลักการทำงานของเครื่องมือตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อนที่ทำการเก็บข้อมูล

HPG-MC03-4-002-02.01 168772
HPG-MC03-4-002-02

ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

2. เตรียมเครื่องมือ สถานที่และเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานเก็บข้อมูลตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-02.02 168773
HPG-MC03-4-002-02

ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

3. บันทึกข้อมูลตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อนตามแผนที่ได้รับมอบหมาย

HPG-MC03-4-002-02.03 168774
HPG-MC03-4-002-02

ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

4. บ่งชี้ถึงสิ่งผิดปกติได้จากข้อมูลตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อนเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน

HPG-MC03-4-002-02.04 168775
HPG-MC03-4-002-02

ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

5. รายงานผลการเก็บข้อมูลตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-02.05 168776
HPG-MC03-4-002-03

ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

1. อธิบายหลักการทำงานของเครื่องมือตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อนที่ทำการเก็บข้อมูล

HPG-MC03-4-002-03.01 168777
HPG-MC03-4-002-03

ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

2. เตรียมเครื่องมือ สถานที่และเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานเก็บข้อมูลตรวจวัดการรั่วซึมของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-03.02 168778
HPG-MC03-4-002-03

ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

3. บันทึกข้อมูลตรวจวัดการรั่วซึมของเขื่อนตามแผนที่ได้รับมอบหมาย 

HPG-MC03-4-002-03.03 168779
HPG-MC03-4-002-03

ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

4. บ่งชี้ถึงสิ่งผิดปกติได้จากข้อมูลตรวจวัดการรั่วซึมของเขื่อนเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน

HPG-MC03-4-002-03.04 168780
HPG-MC03-4-002-03

ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

5. รายงานผลการเก็บข้อมูลตรวจวัดการรั่วซึมของเขื่อนใต้ดินของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-03.05 168781
HPG-MC03-4-002-04

ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

1. อธิบายหลักการตรวจวัดค่าระดับ ตำแหน่งหมุด และค่าระดับของหมุดที่ใช้สำหรับออกค่าระดับ

HPG-MC03-4-002-04.01 168782
HPG-MC03-4-002-04

ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

2. เตรียมเครื่องมือและเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-04.02 168783
HPG-MC03-4-002-04

ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

3. ปฏิบัติงานตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อนตามแผนที่ได้รับมอบหมาย  HPG-MC03-4-002-04.03 168784
HPG-MC03-4-002-04

ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

4. บ่งชี้ถึงสิ่งผิดปกติได้จากข้อมูลตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อนเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน

HPG-MC03-4-002-04.04 168785
HPG-MC03-4-002-04

ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

5. รายงานผลการเก็บข้อมูลตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-04.05 168786
HPG-MC03-4-002-05

ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

1. อธิบายหลักการตรวจวัดค่าการเคลื่อนตัว ตำแหน่งหมุด และค่าพิกัดของหมุดที่ใช้สำหรับออกค่าระดับ

HPG-MC03-4-002-05.01 168787
HPG-MC03-4-002-05

ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

2. เตรียมเครื่องมือและเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน 

HPG-MC03-4-002-05.02 168788
HPG-MC03-4-002-05

ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

3. ปฏิบัติงานตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อนตามแผนที่ได้รับมอบหมาย 

HPG-MC03-4-002-05.03 168789
HPG-MC03-4-002-05

ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

4. บ่งชี้ถึงสิ่งผิดปกติได้จากข้อมูลตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อนเมื่อเทียบกับค่ามาตรฐาน

HPG-MC03-4-002-05.04 168790
HPG-MC03-4-002-05

ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

5. รายงานผลการเก็บข้อมูลตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

HPG-MC03-4-002-05.05 168791

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะในการทำงานด้านเทคนิค (Technical Skills)

1.    ทักษะการอ่านแบบโยธา

2.    ทักษะการใช้เครื่องมือและเอกสารสำหรับการปฏิบัติงานตรวจสภาพด้วยเครื่องมือ (Instrument inspection)

3.    ทักษะการตรวจสภาพด้วยเครื่องมือ (Instrument inspection) ตามรายการตรวจสอบ (Check list)

4.    ทักษะการจำแนกประเภทความรุนแรงและความจำเป็นเร่งด่วนในการซ่อมของจุดบกพร่องจากงานตรวจสภาพด้วยเครื่องมือ (Instrument inspection)

ทักษะในการทำงาน (Soft Skills)

5.    ทักษะในการติดต่อประสานงาน

6.    ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (Team Working)

7.    ทักษะการนำเสนอผลงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสภาพด้วยเครื่องมือ 

2.    ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบและหน้าที่ของเขื่อนและอาคารประกอบ

3.    ความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษทางเทคนิคในการปฏิบัติงาน


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการในหน่วยสมรรถนะนี้จะใช้ในการพิจารณาประกอบ ร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) ซึ่งหลักฐานที่ต้องการ สามารถใช้ทดแทนความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นได้ โดยเจ้าหน้าที่สอบจะพิจารณารายละเอียดตามความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นๆ และยกเว้นการสอบใน หน่วยสมรรถนะนั้นได้

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) หรือ

1.    ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

2.    แบบบันทึกผลการสังเกตการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)

3.    แบบรวบรวม/แฟ้มสะสมผลงานการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)

4.    หลักฐานการอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (ถ้ามี) โดยไม่ต้องประเมินในหน่วยสมรรถนะ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) หรือ

1.    หลักฐานการศึกษา

2.    ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

3.    แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ (ถ้ามี)

4.    แบบบันทึกผลการสอบข้อเขียน (ถ้ามี)  

5.    แบบรวบรวม/แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) การปฏิบัติงาน (ถ้ามี)

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ผู้เข้ารับการประเมินสามารถนำหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้มาประกอบในการประเมิน โดยรวบรวมข้อมูลตามรายละเอียดที่แสดงใน Checklist  รายการ

(ง) วิธีการประเมิน

1.    พิจารณาหลักฐานความรู้ ที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมาแสดง เช่น ใบรับรองฯ

2.    พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน แสดงหลักฐานการผ่านการอบรม/ใบรับรองจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตของการประเมินสมรรถนะในหน่วยสมรรถนะนี้ ผู้เข้ารับการประเมินจะถูกประเมินทักษะในการดำเนินการบำรุงรักษาโยธาของโรงไฟฟ้าพลังน้ำเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) โดยการตรวจสภาพเขื่อน อาคารประกอบ และอาคารโรงไฟฟ้าพลังน้ำด้วยเครื่องมือ (Instrument inspection)

(ก)     คำแนะนำ 

 N/A

(ข)     คำอธิบายรายละเอียด

1.    เขื่อน ประกอบด้วย ตัวเขื่อน อุโมงค์ผันน้ำ (River Outlet) และอุโมงค์ฐานรากเขื่อน (Grouting Gallery)

2.    เครื่องมือ สำหรับการปฏิบัติงานตรวจสภาพเขื่อน เช่น เครื่องวัดระดับน้ำใต้ดิน (DIP METER) อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE) ไฟฉาย ตลับเมตร ปากกาเมจิก เครื่องวัดอากาศ Confined space วิทยุสื่อสาร อุปกรณ์ถ่ายภาพ ค้อน ไม้บรรทัด นาฬิกาจับเวลา สมุดบันทึก กล้องระดับพร้อมอุปกรณ์สำรวจ กล้องประมวลผลรวม (Total station) พร้อมอุปกรณ์สำรวจ และเครื่องคิดเลข เป็นต้น

3.    เอกสาร สำหรับการปฏิบัติงานตรวจสภาพเขื่อนและอาคารประกอบ รายละเอียดดังนี้

-     ตามรายการตรวจสอบ (Check list)

-     แบบของเขื่อนและอาคารประกอบ (Drawing)

-     กระดานบอกรายละเอียดจุดตรวจ

-     ประวัติการตรวจสอบและบำรุงรักษา

-     Work Permit 

-     เป็นต้น

4.    รายการตรวจสอบ (Check list) ในการปฏิบัติงานตรวจสภาพเขื่อนและอาคารประกอบด้วยเครื่องมือ (Instrument inspection) รายละเอียดดังนี้

1)    สันเขื่อน ได้แก่ การตรวจวัดการทรุดตัว/เคลื่อนตัว การตรวจวัดแรงดันน้ำในหลุมวัดน้ำ

2)    ลาดท้ายน้ำ ได้แก่ การตรวจวัดการทรุดตัว

3)    ไหล่เขื่อนทั้งสองด้าน ได้แก่ การตรวจวัดแรงดันน้ำในหลุมวัดน้ำ

4)    ฐานเขื่อนด้านท้ายน้ำ ได้แก่ การตรวจวัดแรงดันน้ำในหลุมวัดน้ำ

5)    อุโมงค์ผันน้ำ (River Outlet) ได้แก่ การตรวจวัดปริมาณการรั่วซึม

6)    อุโมงค์ฐานรากเขื่อน (Grouting Gallery) ได้แก่ การตรวจวัดปริมาณการรั่วซึม


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

    18.1 เครื่องมือประเมิน ตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

(1)    ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน

(2)    การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการตรวจวัดแรงดันน้ำในตัวเขื่อน



    18.2 เครื่องมือประเมิน ตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

(1)    ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

(2)    การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการตรวจวัดระดับน้ำใต้ดินของเขื่อน

    18.3 เครื่องมือประเมิน ตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

(1)    ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

(2)    การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการตรวจวัดปริมาณการรั่วซึมของเขื่อน

    18.4 เครื่องมือประเมิน ตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

(1)    ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

(2)    การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการตรวจวัดการทรุดตัวของเขื่อน

    18.5 เครื่องมือประเมิน ตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

(1)    ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน

(2)    การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของเขื่อน



ยินดีต้อนรับ