หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปรับแก้ระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)

สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GPW-POVF-413A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปรับแก้ระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)

3. ทบทวนครั้งที่ / 2564

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ปฏิบัติงานบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง) คุณวุฒิวิชาชีพระดับ 5

ISCO-08 3113 เจ้าหน้าที่/ช่างเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง

 



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ สามารถแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าและระบบส่งทั่วไปสามารถตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันที่เกิดเหตุผิดปกติ อีกทั้งวิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination) รวมถึงสามารถดำเนินการ Calculation Setting ปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting ทดสอบการทำงานระบบป้องกันไฟฟ้าตามมาตรฐาน สุดท้ายสามารถเสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันไฟฟ้าทั่วไป

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพสาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน สาขางานระบบส่งพลังงานไฟฟ้า 

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
10.1 กฎหมายด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานด้านไฟฟ้า - กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย    อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 255810.2 กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

1. ตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าที่เกิดเหตุผิดปกติ

EPT-MC03-5-003-01.01 169638
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

2. วิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination)

EPT-MC03-5-003-01.02 169639
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

3. ดำเนินการ Calculation Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้า

EPT-MC03-5-003-01.03 169640
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

4. ปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting

EPT-MC03-5-003-01.04 169641
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

5. ทดสอบการทำงานระบบป้องกันโรงไฟฟ้าตามมาตรฐาน

EPT-MC03-5-003-01.05 169642
EPT-MC03-5-003-01

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

6. เสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

EPT-MC03-5-003-01.06 169643
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

1. ตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันระบบส่งที่เกิดเหตุผิดปกติ

EPT-MC03-5-003-02.01 169650
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

2. วิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination)

EPT-MC03-5-003-02.02 169651
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

3. ดำเนินการ Calculation Setting ของ ระบบป้องกันระบบส่ง

EPT-MC03-5-003-02.03 169652
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

4. ปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting

EPT-MC03-5-003-02.04 169653
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

5. ทดสอบการทำงานระบบป้องกันระบบส่งตามมาตรฐาน

EPT-MC03-5-003-02.05 169654
EPT-MC03-5-003-02

แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

6. เสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

EPT-MC03-5-003-02.06 169655

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

12.1 ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัด เช่น การจําแนกประเภทและคุณลักษณะ การวัดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เป็นต้น

12.2 ทฤษฎีพลังงาน เช่น หลักการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าและพลังงานกล

12.3 หลักการทํางานของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน เช่น โครงสร้างและหลักการทํางานของเครื่องจักรกลไฟฟ้า เครื่องจักรกลไฟฟ้าซิงโครนัสเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนียวนํา การป้องกันเครื่องจักรกลไฟฟ้า

12.4 ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากําลัง เช่น โครงสร้างของระบบไฟฟ้ากําลัง วงจรไฟฟ้ากําลังกระแสสลับ คุณลักษณะและแบบจําลองของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เป็นต้น

12.5 หลักการของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง เซอร์กิตอินเตอร์รับเตอร์  อุปกรณ์ตัดตอนอัตโนมัติ ฟิวส์ หม้อแปลงกระแสและหม้อแปลงแรงดัน

12.6 หลักการ โครงสร้างและคุณลักษณะของรีเลย์ระบบป้องกัน

12.7 การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มอเตอร์ ไฟฟ้า บัส หม้อแปลง สายส่ง และสายป้อน

 


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะในการทำงานด้านเทคนิค (Technical Skills)

1. ทักษะการตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง) ที่เกิดเหตุผิดปกติ

2. ทักษะการวิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกันไฟฟ้า (Protection Relay Coordination)

3. ทักษะการ Calculation Setting ของระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง) 

4. ทักษะการปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting

5. ทักษะการทดสอบการทำงานระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง) 

6. ทักษะการนำเสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)

ทักษะในการทำงาน (Soft Skills)

7. ทักษะการติดต่อประสานงาน

8. ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน

9. ทักษะการใช้งานคอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน  

10. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น (Team Working)

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ข้อมูลจำเพาะทางเทคนิคสำหรับการวิเคราะห์ผลการทดสอบงานบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)

2. ค่าพารามิเตอร์ที่จำเป็นที่ได้จากการวัดในการบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)และอุปกรณ์ประกอบ

3. หลักการคำนวณพื้นฐานทางด้านไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบที่เกี่ยวข้อง เช่นการคำนวนหาค่ากระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าที่พิกัดของอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง

4. ความรู้สำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)และอุปกรณ์ประกอบ 

5. วิธีการใช้เครื่องมือในการบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)และอุปกรณ์ประกอบ

6. ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือในการบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)และอุปกรณ์ประกอบ

7. ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)และอุปกรณ์ประกอบ

8. การเก็บและบำรุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานและเครื่องมือพิเศษ 

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการในหน่วยสมรรถนะนี้จะใช้ในการพิจารณาประกอบ ร่วมกันกับการประเมินตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รวมทั้งทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) ซึ่งหลักฐานที่ต้องการ สามารถใช้ทดแทนความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้นได้ โดยเจ้าหน้าที่สอบจะพิจารณารายละเอียดตามความรู้และทักษะในหน่วยสมรรถนะนั้น ๆ และยกเว้นการสอบใน หน่วยสมรรถนะนั้นได้

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) หรือ

1. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

2. แบบบันทึกผลการสังเกตการปฏิบัติงาน (ถ้ามี)

3. แบบรวบรวม/แฟ้มสะสมผลงานการปฏิบัติงาน 

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) หรือ

1. หลักฐานการศึกษา

2. ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับปริญญาตรี (ถ้ามี)

3. ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ถ้ามี)

4. แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ (ถ้ามี)

5. แบบบันทึกผลการสอบข้อเขียน (ถ้ามี)  

6. แบบรวบรวม/แฟ้มสะสมผลงานการปฏิบัติงาน (ควมรู้) 

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ผู้เข้ารับการประเมินสามารถนำหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้มาประกอบในการประเมิน โดยรวบรวมข้อมูลตามรายละเอียดที่แสดงใน Checklist รายการ

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาหลักฐานความรู้ ที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมาแสดง เช่น หลักฐานการศึกษา 

2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน เช่น ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตของการประเมินสมรรถนะในหน่วยสมรรถนะนี้ ผู้เข้ารับการประเมินจะถูกประเมินทักษะและความรู้ในการดำเนินการการตรวจสอบและทดสอบ บำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง) โดยใช้เครื่องมือพื้นฐานและเครื่องมือแบบพิเศษสำหรับการตรวจสอบและการทดสอบ การวิเคราะห์ผลการทดสอบ และการพิจารณาส่วนชิ้นอะไหล่ (Spare Part) ที่ใช้สำหรับการบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)  และอุปกรณ์ประกอบ 

(ก) คำแนะนำ 

ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านความปลอดภัยของงานบำรุงรักษาระบบป้องกันไฟฟ้า (โรงไฟฟ้าและระบบส่ง)โดยต้องทราบถึงข้อหลักของการดำเนินการของการบำรุงรักษาดังกล่าว

(ข) คำอธิบายรายละเอียด 

1. แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

- ตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าที่เกิดเหตุผิดปกติ : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถแยกแยะความผิดปกติเมื่อเกิดความผิดพร่องขึ้นในระบบไฟฟ้า เช่น เกิดการลัดวงจรไฟฟ้า (Short Circuit) เกิดแรงดันกระชาก (Surge) หรือเกิดความผิดปกติอื่น ๆ ก่อนที่จะทำให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ และสามารถตรวจจับความผิดพร่องที่เกิดขึ้นรวมถึงส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์ตัด-ต่อวงจรอื่น รวมถึงเก็บข้อมูลจากเหตุผิดปกติที่เกิดได้

- วิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination) : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถพิจารณาลำดับในการป้องกันกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าอาทิเช่น ปริมาณของกระแสลัดวงจรที่จะเกิดขึ้น ทิศทางการไหลและโครงสร้างของระบบไฟฟ้ากำลัง รวมถึงการทำงานสัมพันธ์กับระบบป้องกันอื่น ๆ (Coordination) ได้ อีกทั้งยังต้องสามารถพิจารณาสการวิเคราะห์ค่ากระแสลัดวงจร (Short Citcuit Current) ด้วยวิธีการองค์ประกอบสมมาตร (Symmetrical Components) และการวิเคราะห์เสถียรภาพของระบบ (System Stability) ดำเนินการ Calculation Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องเพื่อที่จะวิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination) ได้อย่างถูกต้อง

- ดำเนินการ Calculation Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้า : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถดำเนินการ Calculation Setting ของ ระบบป้องกันระบบส่ง สามารถแยกความแตกต่างระหว่างสภาวะการทำงานปกติ (ไม่เกิดการผิดพร่องหรือการผิดพร่องนั้นอยู่นอกขอบเขตการป้องกัน) กับสภาวะที่เกิดการผิดพร่องได้ สามารถตรวจสอบการเชื่อมต่อกับระบบการแสดงผลที่เป็นดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ สามารถทำการตรวจสอบการปรับตั้งค่าได้ สามารถฟังก์ชั่นการทำงานที่ครอบคลุมเงื่อนไขที่กำหนดได้ สามารถเข้าใจการทำงานและการโปรแกรมเป็นอย่างดี สามารถทดสอบสมรรถนะของรีเลย์ตามมาตรฐานที่กำหนดได้ อาทิเช่น  วิธีการทดสอบแบบสภาวะคงตัว (Steady-State Test) สภาวะไดนามิก (Dynamic Test) และทรานเชี้ยนท์ (Transient Test)

- ปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting  : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถปรับปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้ สามารถแยกความแตกต่างระหว่างสภาวะการทำงานปกติ (ไม่เกิดการผิดพร่องหรือการผิดพร่องนั้นอยู่นอกขอบเขตการป้องกัน) กับสภาวะที่เกิดการผิดพร่องได้ สามารถตรวจสอบการเชื่อมต่อกับระบบการแสดงผลที่เป็นดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ สามารถทำการตรวจสอบการปรับตั้งค่าได้ สามารถฟังก์ชั่นการทำงานที่ครอบคลุมเงื่อนไขที่กำหนดได้ สามารถเข้าใจการทำงานและการโปรแกรมเป็นอย่างดี สามารถทดสอบสมรรถนะของรีเลย์ตามมาตรฐานที่กำหนดได้ อาทิเช่น  วิธีการทดสอบแบบสภาวะคงตัว (Steady-State Test) สภาวะไดนามิก (Dynamic Test) และทรานเชี้ยนท์ (Transient Test)

- ทดสอบการทำงานระบบป้องกันโรงไฟฟ้าตามมาตรฐาน : ผู้เข้ารับการประเมินต้องการทดสอบการทำงานระบบป้องกันโรงไฟฟ้าเพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าการทำงานของทั้งระบบพร้อมกันถูกต้องตามที่กำหนดไว้ในเอกสารสัญญารวมไปถึงการตรวจสอบตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมทั้งนี้เพื่อป้องกันความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า  ลดเวลาการหยุดเดินเครื่องโรงไฟฟ้า (Plant  Outage) ทำให้โรงไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูงขึ้น  รวมไปถึงการให้คำปรึกษาในการวางแผนการจัดหา Spare Part  จนทำให้โรงไฟฟ้าเหล่านั้นมีให้มีความปลอดภัย (Safety) และความพร้อมจ่ายสูงขึ้น

- เสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถเสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไปครบทุกอุปกรณ์ และสามารถสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้ตั้งแต่ระบบไฟฟ้าแรงต่ำไปสู่ระบบไฟฟ้าแรงสูงอาทิเช่น สถานีไฟฟ้าย่อย (กรณีโรงงานมีสถานีไฟฟ้าย่อย)ซึ่งประกอบด้วย Circuit Breaker, Current Transformer, Potential Transformer, Air Break Switchและจุดต่อต่างๆ ชุด Metering ของ กฟภ. หรือ กฟน. หรือ IPP และ SPP สวิตซ์ตัดตอนแรงสูง (LBS) และ Ring Main Unitหม้อแปลงไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Drop Out Fuse และ Lightning Arrestor และจุดต่อต่างๆ) Main Distribution Board ซึ่งประกอบด้วย Air Circuit Breaker, Current Transformer ,Mold Case Circuit Breaker, HRC Fuse, Busbar, Magnetic ContaCTor และ อื่นๆ Distribution Board ซึ่งประกอบด้วย Mold Case Circuit Breaker, Current Transformer , Busbar และ อื่นๆLoad Center ซึ่งประกอบด้วย Miniature Circuit Breaker, Busbar, จุดต่อสายไฟฟ้า และ อื่นๆ

2. แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

- ตรวจสอบการทำงานของระบบป้องกันระบบส่งที่เกิดเหตุผิดปกติ : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถแยกแยะความผิดปกติเมื่อเกิดความผิดพร่องขึ้นในระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป เช่น เกิดการลัดวงจรไฟฟ้า (Short Circuit) เกิดแรงดันกระชาก (Surge) หรือเกิดความผิดปกติอื่น ๆ ก่อนที่จะทำให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ และสามารถตรวจจับความผิดพร่องที่เกิดขึ้นรวมถึงส่งสัญญาณไปยังอุปกรณ์ตัด-ต่อวงจรอื่น รวมถึงเก็บข้อมูลจากเหตุผิดปกติที่เกิดได้

- วิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination) : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถพิจารณาลำดับในการป้องกันกระแสลัดวงจรในระบบไฟฟ้าอาทิเช่น ปริมาณของกระแสลัดวงจรที่จะเกิดขึ้น ทิศทางการไหลและโครงสร้างของระบบไฟฟ้ากำลัง รวมถึงการทำงานสัมพันธ์กับระบบป้องกันอื่น ๆ (Coordination) ได้ อีกทั้งยังต้องสามารถพิจารณาสการวิเคราะห์ค่ากระแสลัดวงจร (Short Citcuit Current) ด้วยวิธีการองค์ประกอบสมมาตร (Symmetrical Components) และการวิเคราะห์เสถียรภาพของระบบ (System Stability) ดำเนินการ Calculation Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องเพื่อที่จะวิเคราะห์ความผิดปกติของลำดับทำงานของระบบป้องกัน (Protection Relay Coordination) ได้อย่างถูกต้อง

- ดำเนินการ Calculation Setting ของ ระบบป้องกันระบบส่ง : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถดำเนินการ Calculation Setting ของ ระบบป้องกันระบบส่ง สามารถแยกความแตกต่างระหว่างสภาวะการทำงานปกติ (ไม่เกิดการผิดพร่องหรือการผิดพร่องนั้นอยู่นอกขอบเขตการป้องกัน) กับสภาวะที่เกิดการผิดพร่องได้ สามารถตรวจสอบการเชื่อมต่อกับระบบการแสดงผลที่เป็นดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ สามารถทำการตรวจสอบการปรับตั้งค่าได้ สามารถฟังก์ชั่นการทำงานที่ครอบคลุมเงื่อนไขที่กำหนดได้ สามารถเข้าใจการทำงานและการโปรแกรมเป็นอย่างดี สามารถทดสอบสมรรถนะของรีเลย์ตามมาตรฐานที่กำหนดได้ อาทิเช่น  วิธีการทดสอบแบบสภาวะคงตัว (Steady-State Test) สภาวะไดนามิก (Dynamic Test) และทรานเชี้ยนท์ (Transient Test)

- ปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถปรับปรับแต่ง Protective Relay Parameter Setting ของระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้ สามารถแยกความแตกต่างระหว่างสภาวะการทำงานปกติ (ไม่เกิดการผิดพร่องหรือการผิดพร่องนั้นอยู่นอกขอบเขตการป้องกัน) กับสภาวะที่เกิดการผิดพร่องได้ สามารถตรวจสอบการเชื่อมต่อกับระบบการแสดงผลที่เป็นดิจิตอลหรือคอมพิวเตอร์ สามารถทำการตรวจสอบการปรับตั้งค่าได้ สามารถฟังก์ชั่นการทำงานที่ครอบคลุมเงื่อนไขที่กำหนดได้ สามารถเข้าใจการทำงานและการโปรแกรมเป็นอย่างดี สามารถทดสอบสมรรถนะของรีเลย์ตามมาตรฐานที่กำหนดได้ อาทิเช่น  วิธีการทดสอบแบบสภาวะคงตัว (Steady-State Test) สภาวะไดนามิก (Dynamic Test) และทรานเชี้ยนท์ (Transient Test)

- ทดสอบการทำงานระบบป้องกันระบบส่งตามมาตรฐาน : ผู้เข้ารับการประเมินต้องการทดสอบการทำงานระบบป้องกันระบบส่งได้เพื่อตรวจสอบให้มั่นใจว่าการทำงานของทั้งระบบพร้อมกันถูกต้องตามที่กำหนดไว้ในเอกสารสัญญารวมไปถึงการตรวจสอบตามมาตรฐานด้านวิศวกรรมทั้งนี้เพื่อป้องกันความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า  ลดเวลาการหยุดเดินเครื่องโรงไฟฟ้า (Plant  Outage) ทำให้โรงไฟฟ้ามีประสิทธิภาพสูงขึ้น  รวมไปถึงการให้คำปรึกษาในการวางแผนการจัดหา Spare Part  จนทำให้โรงไฟฟ้าเหล่านั้นมีให้มีความปลอดภัย (Safety) และความพร้อมจ่ายสูงขึ้น

- เสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป : ผู้เข้ารับการประเมินต้องสามารถเสนอรายงานสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันระบบส่งทั่วไปครบทุกอุปกรณ์ และสามารถสรุปผลการแก้ไขระบบป้องกันโรงไฟฟ้าได้ตั้งแต่ระบบไฟฟ้าแรงต่ำไปสู่ระบบไฟฟ้าแรงสูงอาทิเช่น สถานีไฟฟ้าย่อย (กรณีโรงงานมีสถานีไฟฟ้าย่อย)ซึ่งประกอบด้วย Circuit Breaker, Current Transformer, Potential Transformer, Air Break Switchและจุดต่อต่างๆ ชุด Metering ของ กฟภ. หรือ กฟน. หรือ IPP และ SPP สวิตซ์ตัดตอนแรงสูง (LBS) และ Ring Main Unitหม้อแปลงไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Drop Out Fuse และ Lightning Arrestor และจุดต่อต่างๆ) Main Distribution Board ซึ่งประกอบด้วย Air Circuit Breaker, Current Transformer ,Mold Case Circuit Breaker, HRC Fuse, Busbar, Magnetic ContaCTor และ อื่นๆ Distribution Board ซึ่งประกอบด้วย Mold Case Circuit Breaker, CT , Busbar และ อื่นๆLoad Center ซึ่งประกอบด้วย Miniature Circuit Breaker, Busbar, จุดต่อสายไฟฟ้า และ อื่นๆ

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป 

(1) ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป 

(2) ข้อสอบข้อเขียนแบบอัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป

(3) การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันโรงไฟฟ้าทั่วไป 

18.2 เครื่องมือประเมิน แก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป 

(1) ข้อสอบข้อเขียนแบบปรนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป 

(2) ข้อสอบข้อเขียนแบบอัตนัย เช่น ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป

(3) การสัมภาษณ์เชิงเทคนิค เช่น การสอบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการแก้ไขความผิดปกติระบบป้องกันระบบส่งทั่วไป 

 



ยินดีต้อนรับ