หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

การทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักรกลและโลหะการ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MAH-YIHU-036A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ การทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักตรวจสอบในกระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
อธิบายหลักการรวมถึงปฏิบัติการใช้เครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพและบักทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
การผลิตเครื่องจักรกลและโลหะการ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่มี

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่มี

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
02143

บักทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ

3.1 อธิบายขั้นตอนการบันทึกข้อมูลได้

02143.01 167920
02143

บักทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ

3.2 อธิบายผลการทดสอบได้

02143.02 167921
02143

บักทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ

3.3 บันทึกข้อมูลในการตรวจสอบได้

02143.03 167922
02143

บักทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบ

3.4 วิเคราะห์ข้อมูลในการตรวจสอบได้

02143.04 167923
02241

หลักการของเครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

1.1 อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัสดุได้

02241.01 167916
02241

หลักการของเครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

1.2 อธิบายการเตรียมชิ้นงานเพื่อการตรวจสอบได้

02241.02 167917
02242

ปฏิบัติการใช้เครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

2.1 อธิบายขั้นตอนการทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพได้

02242.01 167918
02242

ปฏิบัติการใช้เครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ

2.2 ทดสอบแบบทำลายไม่สภาพด้วยเครื่องมือได้

02242.02 167919

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

นักตรวจสอบในกระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ระดับ 2


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1)    ทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพด้วยเครื่องมือได้

2)    บันทึกข้อมูลในการตรวจสอบได้

 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1)    อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัสดุได้

2)    อธิบายการเตรียมชิ้นงานเพื่อการตรวจสอบได้

3)    อธิบายขั้นตอนการทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพได้

4)    วิเคราะห์ข้อมูลในการตรวจสอบได้

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1)    แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) หรือ

2)    เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ หรือ

3)    เอกสารประเมินผลการสังเกตการปฏิบัติงาน หรือ

4)    เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์จากการปฏิบัติงาน

(ข)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1)    แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) หรือ

2)    เอกสารรับรองผลการเรียนหรือผลการอบรม หรือ

3)    เอกสารประเมินผลการสัมภาษณ์จากการปฏิบัติงาน 

4)    เอกสารการประเมินผลจากการสอบข้อเขียน หรือ

(ค)    คำแนะนำในการประเมิน

การประเมินเกี่ยวกับนักนักตรวจสอบในกระบวนการอบโลหะด้วยไฟฟ้า โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ 

วิธีการประเมิน

1)    พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 

2)    พิจารณาตามหลักฐานความรู้

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก)    คำแนะนำ 

ผู้เข้ารับการประเมิน นักตรวจสอบในกระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ระดับ 2 จะต้องแสดงให้เห็นถึง

ความรู้และทักษะ โดยอธิบายหลักการรวมถึงปฏิบัติการใช้เครื่องมือทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพและบันทึกและตรวจสอบความถูกต้องของผลการทดสอบได้

(ข)    คำอธิบายรายละเอียด

ทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ หมายถึง การทดสอบชิ้นงานที่ผ่านกระบวนการชุบโลหะด้วยไฟฟ้าโดยเครื่องมือและวิธีการที่ไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพของชิ้นงาน เช่น การทดสอบความหนาของระดับผิวเคลือบ เป็นต้น

 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

สมรรถนะจะได้รับการประเมินจาก การสอบข้อเขียน การสอบสัมภาษณ์และการสังเกตการปฏิบัติงาน โดยประเมินจากเอกสารดังนี้

1.    แบบฟอร์มประเมินการสอบข้อเขียน

 



ยินดีต้อนรับ