หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

เผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CER-HPVC-067B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ เผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานเตาเผาสำหรับผลิตลูกถ้วยไฟฟ้า



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับ จัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผา  ควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า  และตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04511 จัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผา 1.เครื่องมือ อุปกรณ์ในการจัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผาได้จัดเตรียมไว้อย่างถูกต้อง 167166
04511 จัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผา 2. ชิ้นงานได้รับการจัดเรียงเข้าเตาเผาตามมาตรฐานการผลิตอย่างถูกต้อง 167167
04512 ควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า 1. เครื่องมือ อุปกรณ์ในการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าได้จัดเตรียมไว้อย่างถูกต้อง 167168
04512 ควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า 2. ชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าได้รับการควบคุมการเผาตามมาตรฐานการผลิตอย่างถูกต้อง 167169
04513 ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผา 1.เครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผาได้จัดเตรียมไว้อย่างครบถ้วนและถูกต้อง 167170
04513 ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผา 2.ชิ้นงานที่ผ่านการเผาได้รับการตรวจสอบตามมาตรฐานการผลิตอย่างถูกต้อง 167171

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการจัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผา

2. ปฏิบัติการควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า

3. ปฏิบัติการตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผา

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. กระบวนการผลิตเซรามิก

2. การควบคุมเตาเผา

3. การเผาชิ้นงาน

4. การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์เซรามิก

5. การตรวจสอบชิ้นงานเซรามิก

6. ความรู้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

2. เอกสารการประเมินการปฏิบัติงานจริงตามรายการประเมิน

3. แบบบันทึกรายการจากการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า

2. เอกสารรับรองหรือผลการประเมินจากสถานประกอบการ

3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือการสัมภาษณ์ด้านความรู้

4. แฟ้มสะสมผลงาน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ประเมินเกี่ยวกับการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้า โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาหลักฐานความรู้

2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ

1. การจัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าเข้าเตาเผาโดยการเรียงจะใช้แผ่นรองเผาตามมาตรฐานการผลิต

2. การควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าโดยจะต้องควบคุมอุณหภูมิในการเผาตามมาตรฐานการผลิต

3. การตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผาตามมาตรฐานการผลิต

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1. การจัดเรียงชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าก่อนเข้าเตาเผาตามมาตรฐานการผลิต โดยการเรียงจะใช้แผ่นรองเผาที่เป็นเนื้อ SiC เนื่องจาก SiC สามารถที่จะรับน้ำหนักที่อุณหภูมิสูงได้ดี

2. การควบคุมการเผาชิ้นงานลูกถ้วยไฟฟ้าตามมาตรฐานการผลิต โดยจะต้องควบคุมอุณหภูมิในการเผาตามข้อกำหนดในมาตรฐานการผลิต

3. การตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการเผาตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(มอก.)  ได้แก่ การตรวจสอบรอยร้าว, ความเรียบของผิว เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ