หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CER-CKRX-037B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานหล่อขึ้นรูปและอบแห้งชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับ อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร ควบคุมอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร และตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบไล่ความชื้น

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรมเซรามิกและเครื่องเคลือบ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03351 อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 1. ชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารถูกลำเลียงเข้าเตาอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารตามมาตรฐาน 166882
03351 อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 2. เตาอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้รับการจัดเตรียมพร้อมโดยผ่านการควบคุมตามมาตรฐาน 166883
03351 อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 3. ชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้รับการอบไล่ความชื้นโดยผ่านการควบคุมตามมาตรฐาน 166884
03351 อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร 4.ชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารถูกนำออกจากเครื่องอบไล่ความชื้นและจัดเรียงตามมาตรฐาน 166885
03352 ควบคุมอุณหภูมิภายในของเตาอบไล่ความชื้น 1. เตาอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้ถูกควบคุมความชื้นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อกำหนด 166886
03352 ควบคุมอุณหภูมิภายในของเตาอบไล่ความชื้น 2. เตาอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้ถูกควบคุมอุณหภูมิเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อกำหนด 166887
03353 ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบไล่ความชื้น 1. อุปกรณ์ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบไล่ความชื้นได้จัดเตรียมอย่างถูกต้องครบถ้วน 166888
03353 ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบไล่ความชื้น 2. ชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารที่ผ่านการอบไล่ความชื้นได้ตรวจสอบตำหนิและรอยแตกร้าวตามมาตรฐาน 166889
03353 ตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบไล่ความชื้น 3.ชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารที่ผ่านการอบไล่ความชื้นได้ผ่านการคัดแยกตามมาตรฐาน 166890

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. การอบไล่ความชื้นชิ้นงานเซรามิกส์

2. การตรวจสอบชิ้นงาน


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการเตรียมเครื่องอบแห้งชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร

2. ปฏิบัติการควบคุมอุณหภูมิอบแห้งชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร

3. ปฏิบัติการตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบแห้ง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. วัสดุศาสตร์

2. สมบัติทางกายภาพของวัสดุ

3. สมบัติเชิงกลของวัสดุ

4. การตรวจสอบชิ้นงาน

5. การอบไล่ความชื้นชิ้นงาน

6. การเก็บและดูแลรักษาอุปกรณ์และเครื่องอบไล่ความชื้นชิ้นงาน


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

2. เอกสารการประเมินการปฏิบัติงานจริงตามรายการประเมิน

3. แบบบันทึกรายการจากการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับการขึ้นรูปชิ้นงานสำหรับเครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร

2. เอกสารรับรองหรือผลการประเมินจากสถานประกอบการ

3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือการสัมภาษณ์ด้านความรู้

4. แฟ้มสะสมผลงาน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

ประเมินเกี่ยวกับการขึ้นรูปชิ้นงานสำหรับผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

1. พิจารณาหลักฐานความรู้

2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ

1. การอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้กำหนดตามมาตรฐานการผลิต

2. การควบคุมอุณหภูมิของเครื่องอบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารได้กำหนดตามมาตรฐานการผลิต

3. การตรวจสอบชิ้นงานที่ผ่านการอบแห้งได้กำหนดตามมาตรฐานการผลิต

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

1. การเตรียมตู้อบไล่ความชื้นชิ้นงานสำหรับผลิตเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารตามมาตรฐานการผลิตซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนการติดตั้งอุปกรณ์และตู้อบไล่ความชื้น การเลือกใช้อุปกรณ์ การเรียงชิ้นงาน และการตรวจสอบอุปกรณ์

2. การควบคุมอุณหภูมิของตู้อบไล่ความชื้นชิ้นงานเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารตามมาตรฐานการผลิต โดย ทดสอบการปรับเปลี่ยนพร้อมควบคุมอุณหภูมิของตู้การอบไล่ความชื้นทั้งระบบแก๊สและไฟฟ้าเป็นต้น

3. การตรวจสอบชิ้นงานสำหรับผลิตเครื่องใช้บนโต๊ะอาหารตามมาตรฐานการผลิต โดยทดสอบโดยการหาสมบัติทางกายภาพ เช่นรอยแตกร้าว การบิดเบี้ยวเป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน หรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.2 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

    ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

18.3 เครื่องมือการประเมิน

    1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก

    2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานหรือการสัมภาษณ์

    3. แบบการสังเกตจากการปฏิบัติงาน

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ