หน่วยสมรรถนะ
ตรวจสอบและแก้ไขความชำรุดเบื้องต้นของรถจักรขณะทำขบวน
สาขาวิชาชีพระบบขนส่งทางราง
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RAI-OVNM-190B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ตรวจสอบและแก้ไขความชำรุดเบื้องต้นของรถจักรขณะทำขบวน |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ขับรถจักร (Locomotive Driver) ISCO-08 8311 พนักงาน/คนขับเคลื่อนหัวรถจักร 8311 ผู้ขับหัวรถจักร 8311 พนักงาน/คนขับรถไฟ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เกี่ยวข้องกับความรู้และทักษะที่จำเป็นในการตรวจสอบและแก้ไขความชำรุดเบื้องต้นของรถจักรขณะทำขบวน ตามขั้นตอนขององค์กร ข้อกำหนด/กฎปฏิบัติ และหลักปฏิบัติด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการกรอกเอกสารที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับงาน |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มอาชีพระบบขนส่งทางราง (Rail Sector)ISCO-08 หมวดใหญ่ 8 ผู้ควบคุมเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ (หน้าที่ขับเคลื่อนรถไฟและยานพาหนะ) |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
ข้อบังคับและระเบียบการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ.2549 (ขดร.2549) |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10502.1 ระบุความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน | 1.1 ระบุชื่อ ตำแหน่งอุปกรณ์ และหน้าที่ของอุปกรณ์ที่ชำรุดขณะทำขบวน ทั้งส่วนบนและส่วนล่างของรถจักรได้อย่างถูกต้อง |
10502.1.01 | 163211 |
10502.1 ระบุความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน | 1.2 ระบุความชำรุดที่สามารถตรวจสอบได้ขณะทำขบวนทั้งส่วนบนและส่วนล่างของรถจักร ได้อย่างถูกต้อง |
10502.1.02 | 163212 |
10502.1 ระบุความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน | 1.3 แจ้งผู้เกี่ยวข้องให้ทราบถึงความชำรุดของรถจักร ตามข้อกำหนด/ข้อบังคับขององค์กร |
10502.1.03 | 163213 |
10502.1 ระบุความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน | 1.4 ระบุข้อจำกัดและคำแนะนำพิเศษที่อาจต้องใช้ในขณะทำขบวนตามข้อกำหนด/ข้อบังคับขององค์กร ได้อย่างถูกต้อง |
10502.1.04 | 163214 |
10502.2 ตรวจสอบความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
2.1 อธิบายวิธีการตรวจสอบความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวนได้อย่างถูกต้องตามคู่มือประจำรถและมาตรฐานการบำรุงรักษา |
10502.2.01 | 163215 |
10502.2 ตรวจสอบความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
2.2 ตรวจสอบความชำรุด/ข้อขัดข้องของรถจักรที่แสดงบนหน้าจอแสดงผลในห้องขับตามข้อกำหนด/มาตรฐานขององค์กร |
10502.2.02 | 163216 |
10502.2 ตรวจสอบความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
2.3 ตรวจสภาพความชำรุดของรถจักรด้วยโสตสัมผัส ตามข้อกำหนด/มาตรฐานขององค์กร |
10502.2.03 | 163217 |
10502.3 แก้ไขความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
3.1 บอกลำดับการแก้ไขความชำรุดที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง |
10502.3.01 | 163218 |
10502.3 แก้ไขความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
3.2 แก้ไขความชำรุด/ข้อขัดข้องของรถจักรตามที่แสดงบนหน้าจอแสดงผลในห้องขับ ตามคู่มือประจำรถและมาตรฐานการบำรุงรักษา |
10502.3.02 | 163219 |
10502.3 แก้ไขความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
3.3 แก้ไขความชำรุดของรถจักรตามที่ตรวจพบด้วยโสตสัมผัสตามคู่มือประจำรถและมาตรฐานการบำรุงรักษา |
10502.3.03 | 163220 |
10502.3 แก้ไขความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน |
3.4 รายงานผู้บังคับบัญชาและประสานผู้เกี่ยวข้อง ตามข้อกำหนด/ข้อบังคับ และมาตรฐานความปลอดภัยขององค์กร |
10502.3.04 | 163221 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ก) ความต้องการด้านทักษะ (Skill Requirement) (ก1) ทักษะทางเทคนิค (Technical Skills)
(ก2) ทักษะทางสังคมและการทำงาน (Soft Skills)
(ข) ความต้องการด้านความรู้ ข1) วิธีการตรวจสอบความชำรุดเบื้องต้นของรถจักรขณะทำขบวน (ข2) เครื่องยนต์และระบบถ่ายทอดกำลัง และระบบไฟฟ้าของรถจักรแต่ละชนิด (ข3) ระบบลม และระบบห้ามล้อของรถจักรและรถพ่วง (ข4) ระบบส่วนล่างของรถจักรและรถพ่วง (ข5) ขั้นตอนการสื่อสารและระเบียบปฏิบัติ (ข6) การบำรุงรักษารถจักรและรถพ่วง (ข7) กฏความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้อง (OH&S) (ข8) แบบฟอร์ม/เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและแก้ไขความชำรุดเบื้องต้นของรถจักร |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
ผู้ที่เข้ารับการประเมินจะต้องศึกษาคำแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน ควบคู่ไปกับเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน ทักษะและความรู้ที่ต้องการ ขอบเขต และแนวทางการประเมินสำหรับหน่วยสมรรถนะนี้ (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) (ก1) หนังสือรับรองการทำงานจากองค์กร/สถานประกอบการ หรือ (ก2) ใบกำหนดหน้าที่งานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ หรือ (ก3) วิดีโอการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ หรือ (ก4) ภาพถ่ายผลงานหรือชิ้นงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ หรือ (ก5) ผลงานจากการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) (ข1) ใบรับรองผลการศึกษา หรือ (ข2) ประกาศนียบัตร/วุฒิบัตร/ใบรับรองผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรด้านปฏิบัติการรถจักร หรือหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ (ค) คำแนะนำในการประเมิน (ค1) ประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาในการประเมิน และหลักฐานที่จำเป็น ผู้ที่เข้ารับการประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ จะต้องแสดงหลักฐานที่จำเป็นที่มีประเด็นและจุดสังเกตของหลักฐานสอดคล้องกับรายละเอียดที่ระบุไว้ในสมรรถนะย่อย และเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน อาทิ:
(ค2) บริบทและทรัพยากรเฉพาะสำหรับการประเมิน
(ค3) วิธีการประเมิน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |||||||||||||||||||||||||
(ก) คำแนะนำ (ก1) สำหรับผู้เข้ารับการประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ ต้องสามารถตรวจสอบและแก้ไขความชำรุดเบื้องต้นของหัวรถจักรขณะทำขบวน ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอนและมาตรฐานขององค์กร คู่มือประจำรถ มาตรฐานการบำรุงรักษา และหลักปฏิบัติด้านความปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงสามารถเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานได้อย่างเหมาะสม และกรอกเอกสารที่จำเป็นและเกี่ยวข้องกับงานได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ ผู้เข้ารับการประเมินควรเตรียมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้ มาเพื่อประกอบการพิจารณาด้วย (ก2) สำหรับเจ้าหน้าที่สอบจะต้องพิจารณาหลักฐานที่จำเป็น ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้ให้ตรงตามที่ระบุไว้ในหน่วยสมรรถนะนี้ (ข) คำอธิบายรายละเอียด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมินการระบุความชำรุดของรถจักร ที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน
18.2 เครื่องมือประเมินการดำเนินการตรวจสอบความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน
18.3 เครื่องมือประเมินการดำเนินการแก้ไขความชำรุดของรถจักรที่เกิดขึ้นขณะทำขบวน
|