หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

วางแผนการใช้เทคนิคเพื่อสร้างผ้าถักต้นแบบ

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-FFMX-175A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ วางแผนการใช้เทคนิคเพื่อสร้างผ้าถักต้นแบบ

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส 2163  นักออกแบบสิ่งทอ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้จะอธิบายความรู้และทักษะที่จำเป็นในการวางแผนการใช้เทคนิคเพื่อสร้างผ้าถักต้นแบบ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพออกแบบวัสดุสิ่งทอ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1012101 วิเคราะห์เทคนิคการสร้างผ้าถักต้นแบบ 1. กำหนดประเภทของการจัดการ 160582
1012101 วิเคราะห์เทคนิคการสร้างผ้าถักต้นแบบ 2. ระบุผลกระทบของการจัดการวัตถุดิบที่แตกต่างกัน 160583
1012101 วิเคราะห์เทคนิคการสร้างผ้าถักต้นแบบ 3. เลือกกระบวนการต่างๆ ที่ใช้ เพื่อบรรลุเป้าหมายของการดำเนินการสร้างต้นแบบผ้าถัก 160584
1012102 ระบุขั้นตอนและเทคนิคการผลิตผ้าถักต้นแบบ 1. ระบุกระบวนการในการประเมินผลการผลิตผ้าถักต้นแบบ 160585
1012102 ระบุขั้นตอนและเทคนิคการผลิตผ้าถักต้นแบบ 2. ผลิตผ้าถักต้นแบบด้วยวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน 160586
1012102 ระบุขั้นตอนและเทคนิคการผลิตผ้าถักต้นแบบ 3. บันทึกเทคนิคการจัดการและผลกระทบของการผลิตผ้าถักต้นแบบที่ใช้ 160587

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตผ้าถัก

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. รู้เส้นใย ผ้าถัก ผ้า และการทดสอบที่มีอิทธิพลในการออกแบบผ้าถัก

2. รู้เทคนิคเพื่อการผลิตผ้าถัก


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

          2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม

          2. เอกสารประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

          ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านทักษะและความรู้ เกี่ยวกับการวิเคราะห์เทคนิคการสร้างผ้าถักต้นแบบ และการระบุขั้นตอนและเทคนิคการผลิตผ้าถักต้นแบบ

(ง) วิธีการประเมิน

          พิจารณาตามหลักฐานปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการวิเคราะห์เทคนิคการสร้างเส้นด้ายตัวอย่าง และ การระบุขั้นตอนและเทคนิคการผลิตเส้นด้ายตัวอย่าง

          (ก) คำแนะนำ

          ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีทักษะและความรู้เกี่ยวกับสมบัติผ้าถักและขั้นตอนการผลิตผ้าถักเพื่อวิเคราะห์และกำหนดเทคนิคการสร้างผ้าถักตัวอย่าง ตามข้อมูลการออกแบบ

          (ข) คำอธิบายรายละเอียด

          1. ข้อมูลของผ้าถักที่ต้องการออกแบบ อาทิเช่น ข้อมูลจากความต้องการของลูกค้า ข้อมูลแนวโน้มวัตถุดิบ ข้อมูลการนำไปใช้ เป็นต้น

          2. เทคนิคการผลิตผ้าถัก อาทิเช่น การผลิตผ้าถักแนวนอน การผลิตผ้าถักแนวดิ่ง เป็นต้น

          3. การจัดการ หมายถึง การวิเคราะห์ปัญหาในเชิงกายภาพและหาความสัมพันธ์ ระหว่าง 4 M (Man, Machine, Material and Method) เพื่อหาวิธีที่ดีที่สุด

          4. กระบวนการออกแบบผ้าถัก อาทิเช่น การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ ชนิด/ประเภทของผ้าถัก ความต้องการการนำไปใช้ เป็นต้น


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

18.2 แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ