หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบผ้าถักให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-VRNK-172A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบผ้าถักให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส 2163 นักออกแบบสิ่งทอ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ อธิบายความรู้และทักษะที่จำเป็นในการออกแบบผ้าถัก การสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) รวมถึงการวิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก และการเลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพออกแบบวัสดุสิ่งทอ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1011801 สรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) 1 ตรวจสอบข้อมูลความต้องการของลูกค้า 160561
1011801 สรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) 2 จัดลำดับข้อมูลความต้องการของลูกค้า 160562
1011801 สรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) 3 จัดทำภาพร่าง (Sketch Design) 160563
1011802 วิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก 1 ประยุกต์ใช้แนวโน้มสีและผ้าถักให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า 160564
1011802 วิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก 2 จัดทำตารางสี 160565
1011802 วิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก 3 เลือกผ้าถักให้สอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอย 160566
1011803 เลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก 1 จัดทำ MoodBoard 160567
1011803 เลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก 2 จัดทำภาพร่าง (Sketch Design) 160568
1011803 เลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก 3 ปรับแก้ภาพร่าง (Sketch Design) ตามข้อเสนอแนะ 160569

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง

2. มีทักษะการวาดภาพ และการใช้สี

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. รู้แนวโน้มสีและผ้าถัก

2. รู้ชนิดของเส้นใย เส้นด้าย และผ้า


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

          2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม

          2. เอกสารประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

          ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านทักษะและความรู้ เกี่ยวกับการสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) รวมถึงการวิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก และการเลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก

(ง) วิธีการประเมิน

          พิจารณาตามหลักฐานปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การสรุปข้อมูลเพื่อจัดทำภาพร่าง (Sketch Design) การวิเคราะห์แนวโน้มสีและผ้าถัก และ เลือกใช้แนวคิดการออกแบบผ้าถัก

     (ก) คำแนะนำ

          ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีทักษะและความรู้เกี่ยวกับการจัดทำภาพร่างตามข้อมูลความต้องการของลูกค้า ข้อมูลแนวโน้มสี และแนวโน้มวัตถุดิบผ้าถัก

     (ข) คำอธิบายรายละเอียด

          1. Mood board หมายถึง การจัดเรียง ภาพ วัตถุดิบ ข้อความ เพื่อแสดงแนวคิดการออกแบบ

          2. แนวโน้มสี หมายถึง แนวทางความนิยมการใช้สีที่น่าจะเป็นไปได้

          3. แนวโน้มผ้าถัก หมายถึง แนวทางความนิยมการใช้ผ้าถักที่น่าจะเป็นไปได้

          4. ความต้องการของลูกค้า แบ่งได้เป็น 2 เรื่อง คือ ความจำเป็นและความคาดหวัง

                   1.1 ความจำเป็น คือ สิ่งที่ลูกค้าจำเป็นต้องได้รับในธุรกิจนั้นๆ

                   1.2 ความคาดหวัง คือ สิ่งที่อยู่ในใจลูกค้า อาทิเช่น ความคาดหวังที่จะได้รับสินค้าที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสม และผลิตสินค้าได้ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

18.2 แบบฟอร์มการประเมินผลจากการแฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ