หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

นำเสนอข้อมูลการออกแบบเส้นด้ายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-DVKN-160A

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ นำเสนอข้อมูลการออกแบบเส้นด้ายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส 2163  นักออกแบบสิ่งทอ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะสามารถ สื่อสารข้อมูลของหน้าที่หลักในหน่วยงานให้กับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สื่อสารข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามผังการทำงานของสถานประกอบการ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพออกแบบวัสดุสิ่งทอ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1010601 สรุปข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามผังการทำงานของสถานประกอบการ 1 รู้ข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานการสร้างเส้นด้ายต้นแบบ 160464
1010601 สรุปข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามผังการทำงานของสถานประกอบการ 2 รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานการสร้างเส้นด้ายต้นแบบ 160465
1010601 สรุปข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามผังการทำงานของสถานประกอบการ 3 บันทึกข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานการสร้างเส้นด้ายต้นแบบเพื่อสื่อสารกับหน่วยงานถัดไปตามผังการทำงานของสถานประกอบการ 160466
1010602 ถ่ายทอดแนวคิดการออกแบบเส้นด้ายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 รู้ข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานการออกแบบเส้นด้าย 160467
1010602 ถ่ายทอดแนวคิดการออกแบบเส้นด้ายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 รวบรวมข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานการออกแบบเส้นด้าย 160468
1010602 ถ่ายทอดแนวคิดการออกแบบเส้นด้ายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 บันทึกข้อมูลขั้นตอนการปฏิบัติงานการออกแบบเส้นด้ายเพื่อสื่อสารกับหน่วยงานถัดไปตามผังการทำงานของสถานประกอบการ 160469

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

ทักษะการรวบรวมข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

รู้กระบวนการผลิตเส้นด้าย


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

          2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม

          2. เอกสารประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

          ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านทักษะและความรู้ เกี่ยวกับการสรุปข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามผังการทำงานของสถานประกอบการ และ การถ่ายทอดแนวคิดการออกแบบเส้นด้ายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

(ง) วิธีการประเมิน

          พิจารณาตามหลักฐานปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการสรุปข้อมูลการสร้างเส้นด้ายต้นแบบ และ ถ่ายทอดแนวคิดการออกแบบเส้นด้ายให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามผังการทำงานของสถานประกอบการ

(ก) คำแนะนำ

          ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีทักษะและความรู้เกี่ยวกับสมบัติเส้นด้ายและขั้นตอนการผลิตเส้นด้ายเพื่อวิเคราะห์และกำหนดขั้นตอนการผลิตเส้นด้ายต้นแบบ ตามข้อมูลการออกแบบ

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

          1. ขั้นตอนการปฏิบัติงานการสร้างเส้นด้ายต้นแบบ หมายถึง การสร้างเส้นด้ายต้นแบบโดยการใช้ เครื่อง Spinning lab .ในการทดลองสร้างเส้นด้ายต้นแบบตามข้อกำหนดของการผลิตเส้นด้าย อาทิเช่น ชนิดเส้นใย อัตราส่วนการผสมของเส้นใยที่ต้องการ ทิศทางการเข้าเกลียว จำนวนเกลียวต่อนิ้ว สมบัติเส้นด้าย เป็นต้น

          2. ข้อมูลการออกแบบเส้นด้าย อาทิเช่น ข้อมูล


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

18.2 แบบฟอร์มการประเมินผลจากแฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ