หน่วยสมรรถนะ
ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า
สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GEM-ZWGL-046B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
1. อาชีพนักวิเคราะห์โลหะมีค่า 1 3111 ช่างเทคนิคด้านเคมีและวิทยาศาสตร์กายภาพ |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้กับผู้ปฎิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจสอบโลหะมีค่า หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบโลหะมีค่าในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ในหน่วยสมรรถนะนี้จะมุ่งเน้นด้านการวิเคราะห์ตรวจสอบโลหะมีค่า ผู้ปฏิบัติงานต้องมีองค์ความรู้และทักษะในการตรวจสอบโลหะมีค่า รวมถึงต้องมีความรู้และทักษะในการทำงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบโลหะมีค่าหรือเกี่ยวข้องกับโลหะมีค่า เช่น การตรวจสอบทองคำด้วยอัลตราโซนิค การปรับปรุงสีของทองคำ เป็นต้น |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
50090101 ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
1. คัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา |
50090101.01 | 159775 |
50090101 ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
2. เก็บและรวบรวมข้อมูล |
50090101.02 | 159776 |
50090101 ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
3. วิเคราะห์และการแปลผลข้อมูล |
50090101.03 | 159777 |
50090101 ศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
4. เสนอผลการวิจัยและข้อสรุป |
50090101.04 | 171533 |
50090102 เผยแพร่และให้บริการทางการวิจัยด้านโลหะมีค่า |
1. เผยแพร่งานวิจัย |
50090102.01 | 171534 |
50090102 เผยแพร่และให้บริการทางการวิจัยด้านโลหะมีค่า |
2. ให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ |
50090102.02 | 171535 |
50090103 จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
1. จัดความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบให้เป็นระบบ |
50090103.01 | 171536 |
50090103 จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
2. ประมวลความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบโลหะมีค่า |
50090103.02 | 171537 |
50090103 จัดการองค์ความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า |
3. จัดการการเข้าถึงความรู้การตรวจสอบโลหะมีค่า |
50090103.03 | 171538 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา 2. สามารถเก็บและรวบรวมข้อมูล 3. สามารถวิเคราะห์และการตีความข้อมูล 4. สามารถเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป 5. สามารถเผยแพร่งานวิจัย 6. สามารถให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ 7. สามารถจัดความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบให้เป็นระบบ 8. สามารถประมวลความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบโลหะมีค่า 9. สามารถจัดการการเข้าถึงความรู้การตรวจสอบโลหะมีค่า (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา 2. ความรู้เกี่ยวกับการเก็บและรวบรวมข้อมูล 3. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล 4. ความรู้เกี่ยวกับการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป 5. ความรู้เกี่ยวกับการเผยแพร่งานวิจัย 6. ความรู้เกี่ยวกับการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ 7. ความรู้เกี่ยวกับการจัดความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบให้เป็นระบบ 8. ความรู้เกี่ยวกับการประมวลความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบโลหะมีค่า 9. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเข้าถึงความรู้การตรวจสอบโลหะมีค่า |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. แสดงการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา 2. แสดงการเก็บและรวบรวมข้อมูล 3. แสดงการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล 4. แสดงการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป 5. แสดงการเผยแพร่งานวิจัย 6. แสดงการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ 7. แสดงการจัดความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบให้เป็นระบบ 8. แสดงการประมวลความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบโลหะมีค่า 9. แสดงการจัดการเข้าถึงความรู้การตรวจสอบโลหะมีค่า (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. อธิบายเกี่ยวกับการคัดเลือกหัวข้อหรือปัญหา 2. อธิบายเกี่ยวกับการเก็บและรวบรวมข้อมูล 3. อธิบายเกี่ยวกับการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล 4. อธิบายเกี่ยวกับการเสนอผลการวิจัยและข้อสรุป 5. อธิบายเกี่ยวกับการเผยแพร่งานวิจัย 6. อธิบายเกี่ยวกับการให้คำปรึกษาและแนะนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาวิจัยแก่ผู้ที่สนใจ 7. อธิบายเกี่ยวกับการจัดความรู้งานวิจัยด้านการตรวจสอบให้เป็นระบบ 8. อธิบายเกี่ยวกับการประมวลความรู้ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการตรวจสอบโลหะมีค่า 9. อธิบายเกี่ยวกับการจัดการเข้าถึงความรู้การตรวจสอบโลหะมีค่า 10. ใบบันทึกผลการสัมภาษณ์ (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. การสัมภาษณ์ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของเนื้อหาที่จะทำวิจัยทางด้านการตรวจสอบโลหะมีค่า (ข) คำอธิบายรายละเอียด งานวิจัย คือ การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยอาศัยอุปกรณ์หรือวิธีการ เพื่อให้พบข้อเท็จจริง หรือหลักการไปใช้ในการตั้งกฎ ทฤษฎี หรือแนวทางในการปฏิบัติ ลักษณะของงานที่ถือว่าเป็นการวิจัย ควรจะประกอบด้วยขั้นตอนการดำเนินงานที่สำคัญ ดังนี้
ภายหลังจากการวิจัยเสร็จสิ้น นักวิจัยควรมีการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการวิจัยออกสู่สังคมทั้งในหรือต่างประเทศ โดยสามารถเผยแพร่ในรูปของสื่อสิ่งตีพิมพ์ สื่อทางโซเชียล สื่อมัลติมีเดีย การประชุมวิชาการ หรือการจัดสัมมนาต่างๆ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือการประเมิน 1. การสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน |