หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

อบรมให้ความรู้และให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-GXLP-069B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ อบรมให้ความรู้และให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

1. อาชีพนักวิเคราะห์โลหะมีค่า


1 3111 ช่างเทคนิคด้านเคมีและวิทยาศาสตร์กายภาพ

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้กับผู้ปฎิบัติงานในห้องปฏิบัติการตรวจสอบโลหะมีค่า หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบโลหะมีค่าในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ โดยมีการใช้เครื่องมือในการตรวจสอบโลหะมีค่า หน่วยสมรรถนะนี้ใช้ในสภาพแวดล้อมในรูปแบบของการทำงานแบบประจำที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบโลหะมีค่า ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของการอบรมให้ความรู้และให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
50070101

อบรมให้ความรู้ด้านโลหะมีค่า

1. สืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า

50070101.01 159753
50070101

อบรมให้ความรู้ด้านโลหะมีค่า

2. เขียนบทความวิจัยหรือวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโลหะมีค่า

50070101.02 159754
50070101

อบรมให้ความรู้ด้านโลหะมีค่า

3. ให้ความรู้ด้านการตรวจสอบโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ

50070101.03 171524
50070102

ให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า

1. แนะนำข้อมูลและแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า ได้แก่ กฎระเบียบ ข้อกำหนดของประเทศต่างๆ

50070102.01 171753
50070102

ให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า

2. แนะนำเทคนิคการตรวจสอบด้านโลหะมีค่าให้กับบุคคลที่สนใจ

50070102.02 171754

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า



2. สามารถเขียนบทความวิจัยหรือวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโลหะมีค่า



3. สามารถให้ความรู้ด้านการตรวจสอบโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ (จัดสัมมนา อบรมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน)



4. สามารถแนะนำข้อมูลและแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า ได้แก่ กฎระเบียบ ข้อกำหนดของประเทศต่างๆ



5. สามารถแนะนำเทคนิคการตรวจสอบด้านโลหะมีค่าให้กับบุคคลที่สนใจ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า



2. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนบทความวิจัยหรือวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโลหะมีค่า



3. ความรู้เกี่ยวกับการให้ความรู้ด้านการตรวจสอบโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ (จัดสัมมนา อบรมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน)



4. ความรู้เกี่ยวกับการแนะนำข้อมูลและแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า ได้แก่ กฎระเบียบ ข้อกำหนดของประเทศต่างๆ



5. ความรู้เกี่ยวกับการแนะนำเทคนิคการตรวจสอบด้านโลหะมีค่าให้กับบุคคลที่สนใจ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



         1. แสดงการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า



2. แสดงการเขียนบทความวิจัยหรือวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโลหะมีค่า



3. แสดงการให้ความรู้ด้านการตรวจสอบโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ (จัดสัมมนา อบรมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน)



4. แสดงการแนะนำข้อมูลและแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า ได้แก่ กฎระเบียบ ข้อกำหนดของประเทศต่างๆ



5. แสดงการแนะนำเทคนิคการตรวจสอบด้านโลหะมีค่าให้กับบุคคลที่สนใจ



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



         1. อธิบายเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า



2. อธิบายเกี่ยวกับการเขียนบทความวิจัยหรือวิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโลหะมีค่า



3. อธิบายเกี่ยวกับการให้ความรู้ด้านการตรวจสอบโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ (จัดสัมมนา อบรมทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน)



4. อธิบายเกี่ยวกับการแนะนำข้อมูลและแหล่งความรู้ด้านโลหะมีค่า ได้แก่ กฎระเบียบ ข้อกำหนดของประเทศต่างๆ



5. อธิบายเกี่ยวกับการแนะนำเทคนิคการตรวจสอบด้านโลหะมีค่าให้กับบุคคลที่สนใจ



6. ใบบันทึกผลการทดสอบข้อเขียน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการอบรมให้ความรู้และให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่า โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



 (ง) วิธีการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรวจสอบโลหะมีค่า ซึ่งเน้นถึงการปฏิบัติในห้องปฏิบัติการตรวจสอบโลหะมีค่า โลหะมีค่าในหน่วยสมรรถนะนี้ ได้แก่ ทองคำ และเงิน ทั้งที่เป็นชิ้นงานโลหะและตัวเรือนเครื่องประดับ หรือในรูปของโลหะผสม ผู้เข้าประเมินควรมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการอบรมให้ความรู้และให้คำแนะนำด้านโลหะมีค่าแก่บุคคลที่สนใจ



 (ข) คำอธิบายรายละเอียด



-



 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ