หน่วยสมรรถนะ
ขายฝากทอง
สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GEM-JHSG-074B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ขายฝากทอง |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
1. อาชีพนักบริหารจัดการร้านทอง 1 5223 พนักงานช่วยขายในร้านค้า |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้กับผู้ปฎิบัติงานในร้านค้าทองรูปพรรณ หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายทองรูปพรรณหรือทองคำแท่งในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ หน่วยสมรรถนะนี้ใช้ในสภาพแวดล้อมในรูปแบบของการทำงานแบบประจำ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ในสินค้าทองรูปพรรณและหรือทองคำแท่ง ราคาซื้อขายตามที่กำหนด ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของการขายทอง การคำนวนดอกเบี้ย และไถ่ถอนทองคืนแก่ลูกค้า |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
60010201 รับขายฝากทอง |
1. ตรวจสอบและประเมินคุณภาพทอง และให้ข้อมูลที่ตรวจสอบแก่ลูกค้า |
60010201.01 | 159806 |
60010201 รับขายฝากทอง |
2. ประเมินราคาขายฝากและดอกเบี้ย |
60010201.02 | 159807 |
60010201 รับขายฝากทอง |
3. ทำหนังสือสัญญาขายฝาก (ทองคํา) ให้กับลูกค้า |
60010201.03 | 159808 |
60010201 รับขายฝากทอง |
4. แจ้งผู้รับผิดชอบให้จัดเก็บและลงบัญชีขายฝากทอง |
60010201.04 | 159809 |
60010202 รับเงินค่าดอกเบี้ยรับ |
1. ตรวจสอบชื่อลูกค้า และบัญชีขายฝากทอง |
60010202.01 | 159810 |
60010202 รับเงินค่าดอกเบี้ยรับ |
2. รับและตรวจสอบเงินค่าดอกเบี้ยรับ |
60010202.02 | 159811 |
60010202 รับเงินค่าดอกเบี้ยรับ |
3. ออกใบเสร็จหรือเอกสารหลักฐานการรับค่าดอกเบี้ยรับ |
60010202.03 | 159812 |
60010203 ไถ่ถอนทองคืนแก่ลูกค้า |
1. ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารยืนยันตัวตน หนังสือสัญญาขายฝาก และทองที่เก็บรักษาไว้ |
60010203.01 | 159813 |
60010203 ไถ่ถอนทองคืนแก่ลูกค้า |
2. คำนวนดอกเบี้ยคงค้างที่เหลือ |
60010203.02 | 159814 |
60010203 ไถ่ถอนทองคืนแก่ลูกค้า |
3. เบิกทองและบันทึกลงบัญชีขายฝากทอง |
60010203.03 | 159815 |
60010203 ไถ่ถอนทองคืนแก่ลูกค้า |
4. ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของทองก่อนคืนให้ลูกค้า |
60010203.04 | 159816 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. สามารถตรวจสอบและประเมินคุณภาพทอง และให้ข้อมูลที่ตรวจสอบแก่ลูกค้า 2. สามารถประเมินราคาขายฝากและดอกเบี้ย 3. สามารถทำหนังสือสัญญาขายฝาก (ทองคํา) ให้กับลูกค้า 4. สามารถแจ้งผู้รับผิดชอบให้จัดเก็บและลงบัญชีขายฝากทอง 5. สามารถตรวจสอบชื่อลูกค้า และบัญชีรับขายฝากทอง 6. สามารถรับและตรวจสอบเงินค่าดอกเบี้ยรับ 7. สามารถออกใบเสร็จหรือเอกสารหลักฐานการรับค่าดอกเบี้ยรับ 8. สามารถตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารยืนยันตัวตน หนังสือสัญญาขายฝาก และทองที่เก็บรักษาไว้ 9. สามารถคำนวณดอกเบี้ยคงค้างที่เหลือ 10. สามารถเบิกทองและบันทึกลงบัญชีฝากขายทอง 11. สามารถตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของทองก่อนคืนให้ลูกค้า (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพทอง และให้ข้อมูลที่ตรวจสอบแก่ลูกค้า 2. ความรู้เกี่ยวกับการประเมินราคาขายฝากและดอกเบี้ย 3. ความรู้เกี่ยวกับการทำหนังสือสัญญาขายฝาก (ทองคํา) ให้กับลูกค้า 4. ความรู้เกี่ยวกับการแจ้งผู้รับผิดชอบให้จัดเก็บและลงบัญชีขายฝากทอง 5. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบชื่อลูกค้า และบัญชีรับขายฝากทอง 6. ความรู้เกี่ยวกับการรับและตรวจสอบเงินค่าดอกเบี้ยรับ 7. ความรู้เกี่ยวกับการออกใบเสร็จหรือเอกสารหลักฐานการรับค่าดอกเบี้ยรับ 8. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารยืนยันตัวตน หนังสือสัญญาขายฝาก และทองที่เก็บรักษาไว้ 9. ความรู้เกี่ยวกับการคำนวณดอกเบี้ยคงค้างที่เหลือ 10. ความรู้เกี่ยวกับการเบิกทองและบันทึกลงบัญชีฝากขายทอง 11. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของทองก่อนคืนให้ลูกค้า |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. แสดงการตรวจสอบและประเมินคุณภาพทอง และให้ข้อมูลที่ตรวจสอบแก่ลูกค้า 2. แสดงการประเมินราคาขายฝากและดอกเบี้ย 3. แสดงการทำหนังสือสัญญาขายฝาก (ทองคํา) ให้กับลูกค้า 4. แสดงการแจ้งผู้รับผิดชอบให้จัดเก็บและลงบัญชีขายฝากทอง 5. แสดงการตรวจสอบชื่อลูกค้า และบัญชีรับขายฝากทอง 6. แสดงการรับและตรวจสอบเงินค่าดอกเบี้ยรับ 7. แสดงการออกใบเสร็จหรือเอกสารหลักฐานการรับค่าดอกเบี้ยรับ 8. แสดงการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารยืนยันตัวตน หนังสือสัญญาขายฝาก และทองที่เก็บรักษาไว้ 9. แสดงการคำนวณดอกเบี้ยคงค้างที่เหลือ 10. แสดงการเบิกทองและบันทึกลงบัญชีฝากขายทอง 11. แสดงการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของทองก่อนคืนให้ลูกค้า 12. ใบบันทึกผลการสัมภาษณ์ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. อธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพทอง และให้ข้อมูลที่ตรวจสอบแก่ลูกค้า 2. อธิบายเกี่ยวกับการประเมินราคาขายฝากและดอกเบี้ย 3. อธิบายเกี่ยวกับการทำหนังสือสัญญาขายฝาก (ทองคํา) ให้กับลูกค้า 4. อธิบายเกี่ยวกับการแจ้งผู้รับผิดชอบให้จัดเก็บและลงบัญชีรับขายฝากทอง 5. อธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบชื่อลูกค้า และบัญชีรับขายฝากทอง 6. อธิบายเกี่ยวกับการรับและตรวจสอบเงินค่าดอกเบี้ยรับ 7. อธิบายเกี่ยวกับการออกใบเสร็จหรือเอกสารหลักฐานการรับค่าดอกเบี้ยรับ 8. อธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารยืนยันตัวตน หนังสือสัญญาขายฝาก และทองที่เก็บรักษาไว้ 9. อธิบายเกี่ยวกับการคำนวณดอกเบี้ยคงค้างที่เหลือ 10. อธิบายเกี่ยวกับการเบิกทองและบันทึกลงบัญชีฝากขายทอง 11. อธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของทองก่อนคืนให้ลูกค้า 12. ใบบันทึกผลการทดสอบข้อเขียน (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับการขายฝากทอง โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. การสัมภาษณ์ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของในเรื่องของการตรวจสอบทอง การรับขายฝากทอง และกฏระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการรับขายฝากทอง (ข) คำอธิบายรายละเอียด การรับขายฝากทอง หรือที่นิยมเรียกกันว่า การจำนำทอง คือ การที่เจ้าของทองนำทองมาเป็นหลักค้ำประกัน โดยทางร้านจะมีการกำหนดอัตราขายฝากไว้ ผู้ขายฝากทองจะต้องจ่ายดอกเบี้ยทุกเดือน หรือจ่ายดอกเบี้ยเป็นรายวันหากจำนำไม่ถึงเดือน ส่วนการไถ่ถอนทองคืนจะสามารถไถ่ถอนได้ก่อนหรือเมื่อครบกำหนด หากไม่มาไถ่ถอนคืนหรือจ่ายดอกเบี้ย ทางร้านซึ่งเป็นผู้รับขายฝากทองจะสามารถนำทองไปขายทอดตลาดได้ โดยทั่วไป กิจการการร้านทอง (ผู้รับซื้อฝาก) จะกำหนดราคารับซื้อฝากหรือที่เรียกว่า “สินไถ่” ตามข้อตกลงระหว่างคู่สัญญา ซึ่งส่วนใหญ่มี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 กำหนดราคาตามคุณภาพทองที่รับซื้อ เช่น กรณีรับซื้อฝากทองรูปพรรณ คำนวณจาก ราคาทองรูปพรรณที่สมาคมค้าทองค้าประกาศประจำวัน (คิดตามน้ำหนัก) หักค่าสูญเสีย (เช่น ตำหนิ น้ำหนักทองที่ขาด) บวกดอกเบี้ยรับที่คำนวณตามระยะเวลาที่กำหนดตามสัญญาขายฝาก วิธีที่ 2 กำหนดราคาตามราคาทองที่ผู้ขายฝากได้ตกลงกับผู้ซื้อฝาก (ซึ่งอาจต่ำกว่าราคาทองตามท้องตลาด กำหนดขึ้นเพื่อให้ผู้ขายฝากสามารถไถ่คืนได้โดยง่าย) บวกด้วยดอกเบี้ยรับที่คำนวณตามระยะเวลาที่กำหนดตามสัญญาขายฝาก ตัวอย่างขั้นตอนการขายฝากทอง
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือการประเมิน 1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. การสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน |