หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปฏิบัติงานตามความปลอดภัย

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-CZBD-081B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปฏิบัติงานตามความปลอดภัย

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

1. อาชีพนักยริหารจัดการร้านทอง


1 5223 พนักงานช่วยขายในร้านค้า

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้กับผู้ปฎิบัติงานในร้านค้าทองรูปพรรณ หรือผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายทองรูปพรรณหรือทองคำแท่งในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ หน่วยสมรรถนะนี้ใช้ในสภาพแวดล้อมในรูปแบบของการทำงานแบบประจำ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของการปฏิบัติงานตามความปลอดภัย ให้พ้นจากอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
60040201

ดูแลรักษาความปลอดภัยในงานประจำ 

1. ดูแลการจัดเก็บสินค้า

60040201.01 159852
60040201

ดูแลรักษาความปลอดภัยในงานประจำ 

2. ดูแลอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย

60040201.02 159853
60040201

ดูแลรักษาความปลอดภัยในงานประจำ 

3. ดูแลเกี่ยวกับเงิน

60040201.03 159854
60040202

ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม

1. ปฏิบัติตามวิธีการและข้อกำหนดของร้านค้า เพื่อป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม 

60040202.01 159855
60040202

ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม

2. สังเกต ตรวจสอบ ลักษณะลูกค้า และทรัพย์สินภายในร้าน

60040202.02 159856
60040202

ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม

3. ดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่ ชีวิต และทรัพย์สิน 

60040202.03 159857
60040202

ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม

4. สังเกตการณ์ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ

60040202.04 159858

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถดูแลการจัดเก็บสินค้า



2. สามารถดูแลอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย



3. สามารถดูแลเกี่ยวกับเงิน



4. สามารถปฏิบัติตามวิธีการและข้อกำหนดของร้านค้า เพื่อป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม



5. สามารถสังเกต ตรวจสอบ ลักษณะลูกค้า และทรัพย์สินภายในร้าน



6. สามารถดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่ ชีวิต และทรัพย์สิน



7. สามารถสังเกตการณ์ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลการจัดเก็บสินค้า



2. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย



3. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลเกี่ยวกับเงิน



4. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตามวิธีการและข้อกำหนดของร้านค้า เพื่อป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม



5. ความรู้เกี่ยวกับการสังเกต ตรวจสอบ ลักษณะลูกค้า และทรัพย์สินภายในร้าน



6. ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่ ชีวิต และทรัพย์สิน



7. ความรู้เกี่ยวกับการสังเกตการณ์ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



1. แสดงการดูแลการจัดเก็บสินค้า



2. แสดงการดูแลอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย



3. แสดงการดูแลเกี่ยวกับเงิน



4. แสดงการปฏิบัติตามวิธีการและข้อกำหนดของร้านค้า เพื่อป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม



5. แสดงการสังเกต ตรวจสอบ ลักษณะลูกค้า และทรัพย์สินภายในร้าน



6. แสดงการดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่ ชีวิต และทรัพย์สิน



7. แสดงการสังเกตการณ์ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ



8. ใบบันทึกผลการสัมภาษณ์



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. อธิบายเกี่ยวกับการดูแลการจัดเก็บสินค้า



2. อธิบายเกี่ยวกับการดูแลอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ อย่างปลอดภัย



3. อธิบายเกี่ยวกับการดูแลเกี่ยวกับเงิน



4. อธิบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตามวิธีการและข้อกำหนดของร้านค้า เพื่อป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม



5. อธิบายเกี่ยวกับการสังเกต ตรวจสอบ ลักษณะลูกค้า และทรัพย์สินภายในร้าน



6. อธิบายเกี่ยวกับการดูแลรักษาความปลอดภัยในสถานที่ ชีวิต และทรัพย์สิน



7. อธิบายเกี่ยวกับการสังเกตการณ์ และประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ



8. ใบบันทึกผลการทดสอบข้อเขียน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องของการแสดงความรู้ในการปฏิบัติงานตามความปลอดภัย ให้พ้นจากอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



 (ง) วิธีการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



2. การสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ



การปฏิบัติงานตามความปลอดภัย ให้พ้นจากอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยทั่วไปในกิจการร้านทอง เป็นการดูแลรักษาความปลอดภัยในงานประจำ ได้แก่ การดูแลการจัดเก็บสินค้า ไม่ให้สูญหาย การดูแลอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และการดูแลเกี่ยวกับเงิน ไม่ให้สูญหาย) และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรม



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



มาตรการป้องกันการถูกลักขโมยหรือโจรกรรมของร้านค้าทองรูปพรรณในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะมีระบบรักษาความปลอดภัยจากการโจรกรรม ซึ่งสามารถแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ และส่วนของบุคคลที่ปฏิบัติงานภายในร้าน ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีการรักษาความปลอกภัย ได้แก่




  • การติดตั้งกล้องวงจรปิด บริเวณภายในร้านและหน้าร้าน

  • การติดตั้งราวเหล็กดัดกั้นตู้ทอง การติดตั้งกระจกนิรภัย

  • การติดตั้งประตูไฟฟ้าที่ควบคุมการปลดล็อคจากภายในร้าน การติดตั้งสัญญาณเตือนภัย ทั้งด้านหน้าร้านและหลังร้าน การติดตั้งกล้องวงจรปิดไว้ครอบคลุมพื้นที่ของร้าน การติดป้ายคำเตือน ห้ามสวมหมวก, แว่น, หมวกกันน๊อก



ส่วนของบุคคลที่ปฏิบัติงานภายในร้าน มีข้อควรปฏิบัติ ได้แก่




  • ควรหลีกเลี่ยงการปะทะต่อสู้กับคนร้าย ควรปฏิบัติตามมาตรการของเจ้าหน้าที่ตำรวจในท้องที่ เช่น การกำหนดเวลาเปิด-ปิด ร้าน

  • ควรมีการจัดฝึกอบรมความปลอดภัยให้แก่พนักงานในร้าน ทั้งเรื่องการป้องกันอาชญากรรม และวิธีแจ้งเหตุร้าย รวมถึงเทคนิคในการดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน




  • ควรมีเบอร์ติดต่อตำรวจในพื้นที่ เพื่อแจ้งเหตุให้ได้ทันท่วงที ควรมีการทำประกันภัยทั้งบุคคลและทรัพย์สิน


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



1. ข้อสอบข้อเขียน แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



2. การสัมภาษณ์



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ